ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพ (Further Occupational Skill Training) เล่มนี้ คณะผู้วิจัยได้จัดทำขึ้นด้วยวิธีศึกษาข้อมูลจากเอกสารและข้อมูลต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์และอินเตอร์เนต การผูกเข้าด้วยกันเป็นเรื่องด้วยวิธีวิเคราะห์และสังเคราะห์ได้ใช้ประสบการณ์และในการทำงานด้านเทคนิคและอาชีวศึกษาขอองคณะผู้วิจัยเป็นสิ่งสนับสนุน

บทนำ
การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพในประเทศไทย
  การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพโดยหน่วยงานภาครัฐบาล
    วัตถุประสงค์
    การกระจายบริการการฝึกอบรม  
    การจัดหลักสูตร ประเภทและสาขาวิชา  
  การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพโดยหน่วยงานภาคเอกชน  
    วัตถุประสงค์  
    การกระจายบริการการฝึกอบรม  
  ปัญหาและอุปสรรค  
การฝึกอบรมวิชาชีพที่สร้างความเป็นเอกในการแข่งขันในระดับสากล
  สหราชอาณาจักร  
    ระบบ GNVQ  
    วิธีสร้างความเป็นเอกในการแข่งขัน  
    ระบบช่างและนักเรียนฝึกหัดของสหราชอาณาจักร (Modern Apprenticeship)  
    City and Guild Institute  
    BTEC  
  ออสเตรเลีย  
  สหพันธสาธารณรัฐเยอรมัน  
    ระบบทวิภาคี (Dual System)  
    กฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง  
    สถาบันอาชีวศึกษาและการจัดฝึกอาชีพแห่งชาติของเยอรมัน (BIBB)  
  การจัดการศึกษาต่อเนื่องในฝรั่งเศส  
  สหรัฐอเมริกา  
    การสร้างโอกาสให้นักศึกษาเข้าสู่โลกของการทำ งานสหรัฐอเมริกา  
    ตัวอย่างการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพโดยกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมในสหรัฐอเมริกา  
    ตัวอย่างการจัดโปรแกรมให้กับผู้ใช้แรงงาน  
  ข้อสรุปเบื้องต้นของการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพในระดับสากล  
ข้อสรุปเบื้องต้นของการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาอาชีพในระดับสากล  
  ลักษณะทั่วไป  
  ทักษะเบื้องต้น (Basic Skills)  
  ข้อเปรียบเทียบกระบวนฝึกอาชีพวิธีต่าง ๆ  
  ลักษณะความเป็นผู้ใช้แรงงานในยุคใหม่ (Carnevale 1991)  
  วิวัฒนาการใหม่ของการฝึกอบรมวิชาชีพ  
  ภาพที่ควรจะเป็น  
วิสัยทัศน์ สาระบัญญัติและมาตรการ  

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด