รายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทยในการจัดการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาการศึกษา เศรษฐกิจและสังคมในท้องถิ่นอย่างครบวงจร
ปีที่พิมพ์ : 2551
ISBN :
เอกสารฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้ในภาพรวมจากภูมิปัญญาไทย และศึกษาสภาพและปัญหาในการพัฒนาการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญา ตลอดจนเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทย
คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
สารบัญ
สารบัญแผนภาพ
บทที่ 1 บทนำ
1.ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
2.วัตถุประสงค์ของการวิจัย
3.เป้าหมายการวิจัย
4.ขอบเขตของการวิจัย
5.คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย
6.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
บทที่2 วิธีดำเนินการวิจัย
1.ประชากรของการศึกษา
2.เอกสารสำหรับดำเนินการศึกษาครูภูมิปัญญาไทย
3.ขั้นตอนการวิจัย
4.การนำเสนอรายงานการวิจัย
บทที่ 3 สภาพและปัญหาในการพัฒนาการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทยในการจัดการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาการศึกษาเศรษฐกิจและสังคมในท้องถิ่นอย่างครบวงจร
1.สภาพการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทย
• ขั้นตอนการดำเนินการ
• วิธีการคัดเลือก
2.ปัญหาการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทย
• ปัญหาความชัดเจนของกรอบความหมาย
• ปัญหาการสืบทอดองค์ความรู้ของครูภูมิปัญญาไทย
• ปัญหาการประชาสัมพันธ์
• ปัญหาการกำหนดองค์กรหรือหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรงในการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทย
• ปัญหาการจัดทำรายงานของครูภูมิปัญญาไทยเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ
• ปัญหาข้อจำกัดของการพิจารณาจากพื้นที่จริง
• ปัญหาการประยุกต์ใช้เนื้อหาองค์ความรู้ของครูภูมิปัญญาไทยสู่ความเป็นรูปธรรม
• ปัญหาการจัดสรรเวลาการทำงานตามอาชีพกับการทำงานในการเป็นครูภูมิปัญญาไทย
• ปัญหาการยกย่องครูภูมิปัญญาไทยอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
• ปัญหาข้อจำกัดด้านงบประมาณในการส่งเสริมการดำเนินงานของครูภูมิปัญญาไทยอย่างต่อเนื่อง
บทที่ 4 แนวทางการพัฒนาการดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทยในการจัดการเรียนรู้เพื่อการพัฒนา การศึกษา เศรษฐกิจและสังคมในท้องถิ่นอย่างครบวงจร
•ก่อนดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทย
-การเสนอความชัดเจนของกรอบความหมายของครูภูมิปัญญาไทย
-การถอดรหัสกระบวนการคิดของครูภูมิปัญญาไทยในองค์ความรู้แต่ละด้านอย่างชัดเจน
-การกำหนดเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกครูภูมิปัญญาไทย
-การกำหนดให้ครูภูมิปัญญาไทยที่ได้รับประกาศยกย่องแล้วมีส่วนเข้าไปเลือกครูภูมิปัญญาไทยรุ่นใหม่
-การกำหนดให้มีหน่วยงานดำเนินการยกย่องครูภูมิปัญญาไทยอย่างต่อเนื่อง
-การจัดให้มีการประสานแผนงานเพื่อสร้างเครือข่ายการดำเนินงาน
-การปรับรูปแบบการประชาสัมพันธ์
-การตั้งคณะกรรมการที่ต้องลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์และดูสถานที่จริง
-การกำหนดผลประโยชน์ตอบแทนที่ครูภูมิปัญญาไทยควรได้รับ
•หลังการยกย่องครูภูมิปัญญาไทย
-การกระตุ้นให้เกิดการใช้ศักยภาพให้มากขึ้น
-การส่งเสริมสนับสนุนให้ครูภูมิปัญญาไทยปฏิบัติงานในภาคสนาม
-การดำเนินการยกย่องอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
-การส่งเสริมให้มีการสรุปองค์ความรู้ของครูภูมิปัญญาไทย
-การส่งเสริมให้มีปัจจัยสนับสนุนช่วยให้การเผยแพร่องค์ความรู้ครูภูมิปัญญาไทยอย่างครบวงจร
-การมีหน่วยงานให้การสนับสนุนครูภูมิปัญญาไทยในพื้นที่
บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
• อภิปรายผลการวิจัย
• ข้อเสนอแนะ
-ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย
-ข้อเสนอแนะทั่วไปในการวิจัย
-ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
บรรณานุกรม