คู่มือการสรรหาและคัดเลือกครูภูมิปัญญาไทย
ปีที่พิมพ์ : 2551
ISBN : 978-974-55
เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นต้นแบบและเป็นแนวทางให้หน่วยงานทางการศึกษาและที่เกี่ยวข้องนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ทรงภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ
คำนำ
สารบัญ
• ความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย
o รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
o พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
o นโยบายส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษา
o การยกย่องเชิดชูเกียรติครูภูมิปัญญาไทย
• หลักการเกิดภูมิปัญญาไทย
• ความหมายของภูมิปัญญาไทย
• ประเภทของภูมิปัญญาไทย
• ขอบข่ายภูมิปัญญาไทย
• ใครคือครูภูมิปัญญา
• คุณสมบัติและขั้นตอนการดำเนินการสรรหาและคัดเลือกครูภูมิปัญญาไทย
o คุณสมบัติของผู้ทรงภูมิปัญญาที่เสนอชื่อเพื่อยกย่องเป็นครูภูมิปัญญาไทย
o ขั้นตอนการดำเนินการยอกย่องเชิดชูเกียรติครูภูมิปัญญาไทย
• ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ
• ผู้รับผิดชอบการดำเนินการ
o การดำเนินการ
o การตัดสินชี้ขาดผลการสรรหาและคัดเลือก
• หลักเกณฑ์การยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น "ครูภูมิปัญญาไทย"
o หลักเกณฑ์การประเมินจากเอกสาร
o หลักเกณฑ์การประเมินภาคสนาม
• การประกาศผลผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ
• เครื่องหมายเชิดชูเกียรติครูภูมิปัญญาไทย
• การส่งเสริมสนับสนุนครูภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษา
ภาคผนวก
o เอกสารหมายเลข 1 นโยบายส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษา ฉบับได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552
o เอกสารหมายเลข 2 แบบเสนอผู้ทรงภูมิปัญญาเพื่อประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็น "ครูภูมิปัญญาไทย" รุ่นที ...
o เอกสารหมายเลข 3 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานสรรหาและคัดเลือกครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 6

