ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

รายงานการวิจัย การศึกษากับศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย (Education and Culture and Thai Wisdoms) มุ่งรักษาค้นหาแนวทางในการรักษาไว้ซึ่งศิลปะวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทยให้สืบสานต่อไปยังลูกหลาน เป็นมรดกทางปัญญาสำหรับคนไทยทั้งชาติ และใช้เป็นฐานในการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาวิกฤติในทุกด้าน สาระสำคัญที่ได้จากรายงานฉบับนี้จะถูกนำไปใช้ในการกำหนดสาระสำคัญในการร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เพื่อแสดงถึงความสำคัญและเป็นหลักประกันในการสืบสานศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชาติอย่างสืบเนื่องต่อไป

บทที่ ๑ บทนำ
๑. หลักการและเหตุผล
๒. วัตถุประสงค์การวิจัย
๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๔. ขอบเขตการวิจัย
๕. คำ จำ กัดความ
๖. ข้อตกลงเบื้องต้น
๗. ระเบียบวิธีวิจัย
๘. สรุปคำ จำ กัดความ
บทที่ ๒ สถานภาพการจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในต่างประเทศ
๑. กลุ่มที่มีการจัดระบบ “ผู้ทรงภูมิปัญญา”ตามแนวทางของ UNESCO
๒. กลุ่มที่จัดการศึกษาตามแนวคิดการศึกษาพื้นบ้านแบบอัฟริกาตะวันออก
๓. สรุป วิเคราะห์และอภิปรายผลการจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในต่างประเทศ
บทที่ ๓ สถานภาพการจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรม
และภูมิปัญญาในประเทศไทย
๑. แผนการจัดการศึกษาเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
๒. การจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยขององค์กรภาครัฐ
๓. การจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยขององค์กรธุรกิจเอกชน
๔. การจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยขององค์กรสาธารณประโยชน์เอกชน
๕. การจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยขององค์กรชุมชนและผู้ทรงภูมิปัญญา
๖. ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการดำ เนินงานด้านศิลปะ
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
๗. สรุป วิเคราะห์และอภิปรายผลการจัดการศึกษาเรียนรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาในประเทศไทย
บทที่ ๔ วิสัยทัศน์และสาระบัญญัติ
๑. วิสัยทัศน์
๒. สาระสำ คัญที่ควรบัญญัติในกฎหมาย
๓. มาตรการนำ ไปสู่การปฏิบัติ
เอกสารอ้างอิง

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด