ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

การวิจัยเรื่อง การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาของประเทศญี่ปุ่น นำเสนอวิสัยทัศน์ นโยบาย กฎหมายเกี่ยวกับการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษา หลักสูตรและรูปแบบการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานการศึกษาและแนวทางการประเมินผล การศึกษานอกโรงเรียนด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา ตลอดจนการเปรียบเทียบกับวิทยาศาสตร์ศึกษาในประเทศ และข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้

คำนำ
คำชี้แจงของคณะผู้วิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 1 บทนำ
  • ความเป็นมาของการวิจัย
  • วัตถุประสงค์ของการวิจัย
  • วิธีดำเนินการวิจัย
  • ข้อตกลงเบื้องต้น
  • โครงสร้างเนื้อหาของการวิจัย
บทที่ 2 นโยบาย กลยุทธ์ และความสำเร็จในการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในอดีต กับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
  • การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในสมัยเมจิ
  • การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในสมัยไทโช
  • การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
  • การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
  • ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ : ผลของการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในอดีต
  • สรุป
บทที่ 3 วิสัยทัศน์ผู้นำประเทศ นโยบาย และกฎหมายเกี่ยวกับการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาครั้งล่าสุด ปัญหาของวิทยาศาสตร์ศึกษาในช่วงทศวรรษที่ 1980
  • วิสัยทัศน์ผู้นำประเทศ
  • นโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • กฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • สรุป
บทที่ 4 หลักสูตรและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในแต่ละระดับการศึกษา แนวโน้มของวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน : จากอดีตถึงปัจจุบัน
  • วิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาตามหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2542
  • วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2541
  • วิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2541
  • ชั่วโมงการเรียนรู้แบบบูรณาการ กับวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • วิทยาศาสตร์ศึกษาในระดับอุดมศึกษา
  • การปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาในระดับอุดมศึกษา
  • สรุป
บทที่ 5 การเตรียมเข้าสู่อาชีพครูและการพัฒนาครูประจำการสาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • การเตรียมเข้าสู่อาชีพครูวิทยาศาสตร
  • การพัฒนาครูประจำการสาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • ระบบบริหารงานบุคคลและสถานภาพครูวิทยาศาสตร์
  • เสรีภาพทางวิชาการและความรับผิดชอบของครู
  • สรุป
บทที่ 6 มาตรฐานการศึกษาและแนวทางการประเมินผลวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • มาตรฐานด้านเวลาเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
  • มาตรฐานด้านตำราเรียนวิทยาศาสตร์
  • แนวทางการประเมินผลวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • การสอนซ่อมเสริมก่อนและหลังการประเมินผล
  • มาตรฐานความรู้และทักษะวิทยาศาสตร์
  • เปรียบเทียบกับนานาประเทศ
  • สรุป
บทที่ 7 การศึกษานอกโรงเรียนด้านวิทยาศาสตร์ศึกษาและการสนับสนุนจากภาคเอกชน
  • รูปแบบการศึกษานอกโรงเรียนและการสนับสนุนจากภาคเอกชน
  • การสนับสนุนวิทยาศาสตร์ศึกษาโดยภาคอุตสาหกรรม
  • สรุป
บทที่ 8 การเปรียบเทียบกับวิทยาศาสตร์ศึกษาในประเทศไทย
  • วิสัยทัศน์ นโยบาย กลยุทธ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
  • หลักสูตรและการสอนวิทยาศาสตร์
  • การเตรียมเข้าสู่อาชีพครูสาขาวิทยาศาสตร์
  • การพัฒนาครูประจำการสาขาวิทยาศาสตร์
  • มาตรฐานและแนวทางการประเมินผลวิทยาศาสตร์ศึกษา
  • วิทยาศาสตร์ศึกษานอกโรงเรียนและการสนับสนุนจากภาคเอกชน
  • สรุป
บทที่ 9 อภิปรายผลและเสนอแนะการประยุกต์ใช้
  • การอภิปรายผล
  • ข้อเสนอแนะทั่วไป
  • ข้อเสนอแนะการวิจัยเพิ่มเติม
  • บรรณานุกรม
บัญชีตาราง
  1. เปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2532 กับ พ.ศ. 2542
  2. เปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พ.ศ. 2532 กับ พ.ศ.2541
  3. เปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายพ.ศ.2532กับพ.ศ.2542
  4. มาตรฐานขั้นต่ำของเวลาเรียนวิชา/หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับประถมและมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตร ปรับปรุงที่ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2542
  5. มาตรฐานขั้นต่ำของเวลาเรียนหมวดวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรปรับปรุงที่ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2542
  6. อันดับความเข้มแข็งทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของญี่ปุ่นในเวทีโลก
  7. จำนวนหนังสือที่พิมพ์ระหว่างปี พ.ศ. 2528 - 2539
บัญชีแผนภูมิ
  1. ประเภทของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูและคุณสมบัติของผู้สมัครสอบเพื่อรับใบอนุญาต

 

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด