ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN :
รายงานการวิจัย เพื่อพัฒนานโยบายการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษาของไทย สังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จากประเทศต่างๆ ที่ประสบผลสำเร็จในการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษา และได้จัดทำวิสัยทัศน์และพันธกิจเพื่อเป็นกรอบในการดำเนินการปฏิรูปวิทยาศาสตร์ศึกษา ของไทย
บทที่ 1 ความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
- สถานภาพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย
- ผลของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไทย
- ผลการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่ทันกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ
- การรับวัฒนธรรมและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
- การเปลี่ยนแปลงในสังคมระดับโลก
- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- ปัญหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับสังคมไทย
- สถานภาพระดับความสามารถของประเทศไทยในการแข่งขันกับนานาชาติ
- การพัฒนากำลังคนทางวิทยาศาสตร์
- พัฒนาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- วิวัฒนาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- นโยบายแห่งรัฐในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- นโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
|
บทที่ 2 สถานภาพวิทยาศาสตร์ศึกษาของประเทศไทย |
- เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ศึกษา
- สถานภาพวิทยาศาสตร์ศึกษาของไทย
- หลักสูตร
- การจัดการเรียนการสอน
- ครู
- สื่อการเรียนรู้
- การวัดและประเมินผล
- ผลผลิตทางการศึกษา
- การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา
|
บทที่ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
- การสังเคราะห์งานวิจัยต่างประเทศ
- อังกฤษ
- ญี่ปุ่น
- สหรัฐอเมริกา
- เยอรมนี
- สิงคโปร์
- เวียดนาม
- การสังเคราะห์ประเด็นสถานภาพของกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ศึกษาของต่างประเทศเปรียบเทียบกับประเทศไทย
- หลักสูตร
- การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์
- การพัฒนาครูประจำการและนักศึกษาครูสาขาวิทยาศาสตร์
- การวัดและประเมินผล
- บริบทนอกโรงเรียนที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- วิทยาศาสตร์สำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
|
บทที่ 4 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย |
- วิสัยทัศน์
- พันธกิจ
- ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
- ข้อเสนอแนะด้านโอกาสการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิต
- ข้อเสนอแนะด้านคุณภาพ
- ข้อเสนอแนะด้านการวิจัยและพัฒนา
- ข้อเสนอแนะด้านการผลิต พัฒนากำลังคนและการส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ
- ข้อเสนอแนะด้านการใช้สื่อมวลชนเพื่อการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของสังคม
|
บรรณานุกรม |
ภาคผนวก |
Download