การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรทางการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
ปีที่พิมพ์ : 2552
ISBN :
รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและปัจจัยความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเพื่อศึกษาการแพร่ขยายการจัดการความรู้ ตลอดจนนโยบายและยุทธศาสตร์การส่งเสริมไปสู่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น ๆ ให้ใช้การจัดการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
คำนำ
บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็นมาของโครงการวิจัย
- การศึกษาความพร้อมและความเป็นไปได้ก่อนดำเนินการโครงการวิจัย
- โครงสร้างของโครงการวิจัยและพัฒนาฯ
- วัตถุประสงค์และคำถามการวิจัย
- คำจำกัดความเฉพาะที่ใช้ในการวิจัย
- กรอบแนวคิดแนวทางในการดำเนินโครงการฯ
- ระยะเวลาดำเนินโครงการฯ
- ขอบเขตการวิจัย
- ยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน
- ข้อจำกัดในการวิจัย
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- การรวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล
- ประโยชน์ที่ได้รับ
บทที่ 2 การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- ความเป็นมาของการจัดการความรู้
- รูปแบบการจัดการความรู้ (Knowledge Management Models)
- กลุ่มรูปแบบการจัดการความรู้
- การจัดการความรู้ในองค์กรทางการศึกษา
1. การจัดการความรู้ในองค์กรทางการศึกษาต่างประเทศ
2. การจัดการความรู้ในองค์กรทางการศึกษาในประเทศไทย
- การจัดการความรู้ภาคปฏิบัติ
1. เครื่องมือการจัดการความรู้
2. ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการนำการจัดการความรู้เข้ามาสู่องค์กร
3. อุปสรรคของการนำการจัดการความรู้เข้าสู่องค์กร
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
- การจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม
- ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย
1. ระยะการเตรียมงาน
1.1 การกำหนดวัตถุประสงค์และการออกแบบการวิจัยปฏิบัติการ
1.2 การพัฒนานักจัดการความรู้ในองค์กรเป้าหมายการวิจัย
1.3 การจัดสรรงบประมาณ
2. ระยะการวิจัย
2.1 การพัฒนาและการวิจัยระยะที่ 1 (D1R1)
2.2 การพัฒนาและการวิจัยระยะที่ 2 (D2R2)
2.3 การพัฒนาและการวิจัยระยะที่ 3 (D3R3)
2.4 การพัฒนาและการวิจัยระยะที่ 4 (D4)
บทที่ 4 รูปแบบการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประสิทธิภาพในการสนับสนุนและส่งเสริมสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
- รูปแบบการจัดการความรู้ (KM Model) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
- รูปแบบการนำการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติ (KM Implementation)
- ประสิทธิภาพของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในการสนับสนุนส่งเสริม
- ให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
- ปัจจัยความสำเร็จและปัญหาอุปสรรค
บทที่ 5 รูปแบบการจัดการความรู้ ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน และปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รูปแบบการจัดการความรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. กลุ่มรูปแบบวงจรความรู้
2. กลุ่มรูปแบบขั้นตอนการจัดการความรู้
3. กลุ่มรูปแบบผสมผสาน - รูปแบบการนำการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติ
1. ขั้นตอนหลักของการนำการจัดการความรู้สู่สถานศึกษา
2. ความแตกต่างของรูปแบบการนำการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
3. แบบปฏิบัติที่ดีเลิศของการจัดการความรู้สู่การปฏิบัติในสถานศึกษา
- ประสิทธิภาพของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนด้วยการจัดการความรู้
- ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการจัดการความรู้ของสถานศึกษา
- ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการจัดการความรู้
บทที่ 6 การเผยแพร่ขยายการจัดการความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การเผยแพร่ขยายการจัดการความรู้
1. ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง/กรม
2. ยุทธศาสตร์ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านบล็อก
2. ปัจจัยสนับสนุน
3. ตัวอย่างบล็อกที่ประสบความสำเร็จ
4. ประโยชน์ที่ได้รับ
5. อุปสรรค
6. บทเรียนและโอกาสในการพัฒนา
บทที่ 7 การขับเคลื่อนการจัดการความรู้ และปัจจัยสำคัญแห่งความสำเร็จ ในสถานศึกษาที่มีแบบปฏิบัติเป็นเลิศในการจัดการความรู้
- ผลการศึกษาการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ของแกนนำจากเรื่องเล่าเร้าพลัง
1. คุณลักษณะที่ทำให้ถูกเลือกเป็นแกนนำ
2. ความตั้งใจในการขับเคลื่อน
3. วิธีปฏิบัติที่นำไปสู่ความสำเร็จ
4. แรงจูงใจในการเล่าเรื่อง
5. ผลที่เกิดขึ้นตามความคาดหวัง
6. อารมณ์ของผู้เล่าในขณะเล่าเรื่อง
- เครือข่ายสังคมของสถานศึกษา
- ผลการศึกษาปัจจัยสำคัญแห่งความสำเร็จของการจัดการความรู้ในสถานศึกษา
- สรุป
บทที่ 8 สรุปผลการวิจัย การถอดบทเรียนจากการวิจัย และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์
- สรุปผลการวิจัย
1. วิธีการเลือกองค์กรเป้าหมาย
2. กระบวนการวิจัย
3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
4. ผลการศึกษา
4.1 รูปแบบและปัจจัยแห่งความสำเร็จของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
4.2 รูปแบบและปัจจัยแห่งความสำเร็จของสถานศึกษา
4.3 สถานศึกษาที่มีแบบปฏิบัติเป็นเลิศในการจัดการความรู้
4.4 การแพร่ขยายขององค์กรทางการศึกษาเป้าหมายไปสู่องค์กรทางการศึกษาอื่นๆ - การถอดบทเรียนจากการนำการจัดการความรู้ไปใช้ในองค์กร
1. บทเรียนจากการจัดทำกิจกรรมพัฒนาตามโครงการวิจัย
2. บทเรียนจากความสำเร็จของการจัดทำกิจกรรมพัฒนาตามโครงการวิจัย
3. บทเรียนเกี่ยวกับปัจจัยแห่งความสำเร็จของการจัดการความรู้ในองค์กร
4. บทเรียนจากผลลัพธ์ที่เกิดจากการวิจัย
5. บทเรียนเพื่อการรับมือกับความเสี่ยงเมื่อนำการจัดการความรู้เข้าสู่องค์กร
- ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
- ภาคผนวก ก. องค์กรเป้าหมายโครงการวิจัย
- ภาคผนวก ข. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- ภาคผนวก ค. รูปแบบการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กลุ่มเป้าหมายโครงการวิจัย Ed-KM
- ภาคผนวก ง. รูปแบบการจัดการความรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมายโครงการวิจัย Ed-KM