ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

รายงานการวิจัย บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน กับการศึกษา เป็นหัวข้อวิจัยเรื่องหนึ่งในบรรดางานวิจัยกว่า 40 เรื่อง ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้สนับสนุนให้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการยกร่างกฎหมายการศึกษาแห่งชาติ

บทนำ
1. วิกฤตการณ์ด้านการศึกษา : ปัญหาระดับโลก
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กับโอกาสใหม่ของการปฏิรูปการศึกษา
3. โครงการวิจัยประกอบการยกร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ....
4. วัตถุประสงค์และการดำ เนินงานวิจัย “บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนกับการศึกษา”
4.1 วัตถุประสงค์
4.2 วิธีการดำ เนินงานวิจัย
4.3 ความหมายที่ใช้ในงานวิจัย

บทที่ 2 : ความสำ คัญขององค์กรพัฒนาเอกชนและภาคสาธารณประโยชน์
1. ความหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน
2. ความสำ คัญขององค์กรพัฒนาเอกชนและภาคสาธารณประโยชน์
3. ประเด็นกฎหมายเกี่ยวกับองค์กรพัฒนาเอกชน
3.1 สถานภาพทางกฎหมายขององค์กรพัฒนาเอกชน
3.2 ลู่ทางในการรับรองสถานภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน
4. ประเภทขององค์กรพัฒนาเอกชน
4.1 ตามลักษณะของงานหรือกิจกรรม
4.2 ตามพื้นที่การดำ เนินงานและเนื้อหางาน
4.3 ตามบทบาท
4.4 ตามสัญชาติและพื้นที่ภูมิศาสตร์
5. องค์ประกอบ โครงสร้าง และวิธีการทำ งานขององค์กรพัฒนาเอกชน
5.1 อาสาสมัคร
5.2 ผู้ปฏิบัติงานหรือเจ้าหน้าที่
5.3 กรรมการที่ปรึกษา
6. พัฒนาการของภาคสาธารณประโยชน์และองค์กรพัฒนาเอกชน
6.1 พุทธศาสนา : รากฐานของงานสาธารณประโยชน์
6.2 บทบาทของคริสต์จักรและองค์กรสาธารณประโยชน์ชาวจีน
6.3 พัฒนาการขององค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศไทย
(1) ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
(2) หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน
6.4 การสนับสนุนด้านการเงิน
6.5 การก่อตั้งกลไกองค์กรพัฒนาเอกชนระดับชาติ
7. บทสรุป

บทที่ 3 : อิทธิพลของระบบทุนนิยมและระบบอำ นาจนิยมต่อระบบการศึกษาไทย
1. วิกฤติสังคมไทย
2. ลัทธิอาณานิคม : ปัจจัยภายนอกของการเปลี่ยนแปลง
3. ระบบอำ นาจนิยมและทุนนิยม : รากเหง้าของวิกฤติสังคมไทย
3.1 ระบบอำ นาจนิยม
3.2 ระบบทุนนิยมกับวิกฤติของสังคมไทย
4. ผลกระทบของระบบอำ นาจนิยมและทุนนิยมต่อระบบการศึกษา
4.1 พัฒนาการของระบบการศึกษาเรียนรู้ในสังคมไทย
4.1.1 การศึกษาเรียนรู้จากวิถีชีวิตชุมชน
4.1.2 จากวิถีชีวิตสู่การศึกษาในห้องเรียน : การรับมือกับลัทธิอาณานิคม
4.1.3 อิทธิพลของระบอบการเมืองต่อพัฒนาการการศึกษา
4.1.4 ผลกระทบของระบบอำ นาจนิยมและทุนนิยมต่อระบบการศึกษา
4.2 วิกฤตการณ์การศึกษาไทย
4.2.1 การมุ่งสร้างแต่ “ยักษ์” และ “เทวดา”
4.2.2 การละเลยทอดทิ้งภูมิปัญญาดั้งเดิม
4.2.3 การศึกษาเรียนรู้บนมายาคติและอาณานิคมทางปัญญา
5. ธรรมเศรษฐศาสตร์ : ทางรอดของวิกฤติสังคมไทย
6. เครือข่ายศาสนากับการพัฒนา : จากแนวคิดสู่การทดลองปฏิบัติ
7. บทสรุป

บทที่ 4 : บทบาทองค์กรพัฒนาเอกชนกับการศึกษา : แนวคิดและการดำ เนินงาน
1. ความนำ
2. แนวคิดขององค์กรพัฒนาเอกชนด้านการศึกษา
3. การดำ เนินงานด้านการศึกษาขององค์กรพัฒนาเอกชน
3.1 กลุ่มเป้าหมายและระดับของงานด้านการศึกษาของ อพช.
3.2 เนื้อหา
3.3 รายละเอียดการดำ เนินงานด้านการศึกษาของ อพช.
3.4 วิธีการให้การศึกษา
3.5 รูปแบบกิจกรรมการให้การศึกษา

บทที่ 5 : ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการศึกษาขององค์กรพัฒนาเอกชน
1. ความนำ
2. ปัญหาและอุปสรรคพื้นฐานและปัญหาทั่วไป
3. ปัญหาข้อจำ กัดด้านงบประมาณและทรัพยากรอื่น ๆ
4. บทสรุป

บทที่ 6 : แนวทางประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนกับรัฐในการจัดการศึกษา
1. ความนำ
2. ท่าทีขององค์กรพัฒนาเอกชนต่อการประสานความร่วมมือ
3. สถานภาพขององค์กรพัฒนาเอกชนในการจัดการศึกษาที่ประสงค์
4. การกำ หนดความสัมพันธ์และท่าทีการทำ งาน
5. แนวทางประสานความร่วมมือ
6. ขั้นตอนการประสานความร่วมมือ
7. การสนับสนุนส่งเสริมด้านงบประมาณและทรัพยากรการศึกษาอื่น ๆ
8. การยอมรับสถานภาพและบทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชน
9. ทัศนะขององค์กรพัฒนาเอกชนต่อภาพพจน์และความเป็นอิสระกรณีที่ได้รับการสนับสนุน
10. บทสรุป

บทที่ 7 : บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนในการจัดการศึกษาในบางประเทศ
1. ความนำ
2. บทบาทด้านการศึกษาขององค์กรพัฒนาเอกชน
3. กฎหมายหลักและการรับรองสถานภาพขององค์กรพัฒนาเอกชน :กลไกการทำ งาน
4. ตัวอย่างแนวทางการดำ เนินงานของบางประเทศ

บทที่ 8 : วิสัยทัศน์ สาระบัญญัติและมาตรการ/แนวทาง
1. ความนำ
2. วิสัยทัศน์
3. สาระบัญญัติที่ควรบัญญัติไว้ในร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
4. มาตรการ/แนวทาง

เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
ที่เกี่ยวกับการศึกษาของชาติ
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม
ภาคผนวก ค รายชื่อองค์กรที่ตอบแบบสอบถาม
ภาคผนวก ง องค์กรรัฐที่ให้การสนับสนุนเครือข่ายต่าง ๆ ขององค์กรพัฒนาเอกชน แยกตามเครือข่าย

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด