การประชุมทางวิชาการ การวิจัยทางการศึกษา ครั้งที่ 10
ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN :
เป็นการรวบรวมงานวิจัยทางการศึกษาที่นำเสนอในการประชุมวิชาการ จำนวน 62 เรื่อง และได้บันทึกข้อมูลผลงานวิจัยทั้งหมดไว้ใน www.thaiedresearch.org วัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ ยกย่อง และส่งเสริมขวัญกำลังใจแก่นักวิจัยทางการศึกษา
คำนำ
สารบัญ
ผลงานการวิจัยทางการศึกษา
๑. การพัฒนาหลักสูตรการศึกษา
- การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น : กรณีศึกษาโรงเรียนจอมราช อำเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี นางสางศุลีมาศ บุญศรี
- การพัฒนาหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อยงานไม้แกะสลักและงานไม้ สำหรับหมู่บ้านหัตถกรรมไม้แกะสลักบ้านถวาย : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านต้นแก้ว อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.สำลี ทองธิว
- การพัฒนาหลักสูตรการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ ตามหลักการศึกษาแบบเน้นผลการเรียน สำหรับนักศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ วิชาเอกภาษาอังกฤษธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล นางวรพร สุนทรวัฒนศิริ
- กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นที่เอื้อต่อการพัฒนาการเลี้ยงโคนม : กรณีศึกษาจังหวัดราชบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเรียง ขจรศิลป์
- การนำกระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องเลี้ยงโคนมไปประยุกต์ใช้ในต่างบริบท (ระยะที่ ๑) รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเรียง ขจรศิลป์
๒. การพัฒนาการประเมินผลผู้เรียน
- การพัฒนามาตรประเมินคุณลักษณะความสามารถพิเศษของเด็กนักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี ตามแนวคิดของ Renzulli รองศาสตราจารย์ ดร.บุญเชิด ภิญโญอนัตตพงษ์
- การพัฒนาแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์สำหรับประชาชนไทย อายุ ๑๒ - ๖๐ ปี กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
- โครงการวิจัยชนบทศึกษา : การศึกษาและพัฒนาระดับเชาวน์ปัญญาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในจังหวัดนครนายก รองศาสตราจารย์อังคณา สายยศ
๓. กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสำคัญที่สุด
- การศึกษาสภาพและความต้องการในกาจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ของโรงเรียนสังกัดกองการศึกษาสงเคราะห์ กรมสามัญศึกษา กอกการศึกษาสงเคราะห์ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
- การสำรวจเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ศรียา นิยธรรม
- การสังเคราะห์วิธีการสอนวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา นางพิกุล สีหาพงษ์ (กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ)
- วิธีการเรียนของนักเรียนดี และวิธีการสอนของครูสอนดี ระดับประถมศึกษา นางพิกุล สีหาพงษ์ (กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ)
- การศึกษาวิธีการเรียนและวิธีการสอนที่ส่งผลต่อกระบวนการเรียนรู้ที่ยั่งยืนของเด็กไทย ระดับมัธยมศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริยุภา พูลสุวรรณ
- การพัฒนาชุดการเรียนคณิตศาสตร์แบบเรียนเป็นคู่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓ นายบุญเลี้ยง ทุมทอง
- การสร้างมโนทัศน์เรื่องการเคลื่อนที่แบบหมุนโดยใช้กิจกรรมการทดลองและการสาธิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นายศิลปชัย บูรณพานิช
๔. สังคมมีส่วนร่วมจัดการศึกษา
- แนวทางการจัดศูนย์การเรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ในประเทศไทย รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญณี แนรอท
- การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยครอบครัว นางสาววริสรา วงษ์ขำ
- ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร : การศึกษาพหุกรณี นายชำนาญ ปาณาวงษ์
- ปัจจัยที่เอื้อหนุนต่อการจัดการศึกษาในทศวรรษหน้า สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ
- การพัฒนาแบบการเรียนการสอนที่ใช้เทคนิคการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมเพื่อส่งเสริมความตระหนักในการรับใช้สังคม ทักษะการแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ซิสเตอร์ ดร.ชวาลา เวชยันต์
- การประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาและทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมการศึกษาและเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดนครนายก รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย วีระวัฒนานนท์
๕. การพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
- กระบวนทัศน์ในการปฏิรูปการเรียนรู้ ของครูต้นแบบ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิทยาภรณ์ มานุจิติ
- รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ ของครูผู้สอนในจังหวัดสุโขทัย : การวิจัยผสานวิธี นายวรรษะ วงศ์ศักดิ์
- ความสัมพันะธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้บริหารโรงเรียนกับจริยธรรมของครูฝ่ายปกครอง ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ นางสาวสำเภา นรสิงห์
- คุณลักษณะและทักษะของบุคลากรทางการศึกษาที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวาณิช
- การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาการเรียนการสอนของครูอนุบาลด้วยวิธีการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม นางสาวชุติมา ปานดำ
- การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเทคนิคการสอนความคิดสร้างสรรค์สำหรับครูประถมศึกษา นายพีรพงษ์ ดวงแก้ว
๖. การวิจัยในชั้นเรียน
- ปัจจัยเชิงสาเหตุที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูในกรุงเทพมหานคร นายนริศว์ ปรารมภ์
- ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ของครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษากรุงเทพมหานคร นางสาววรรณา เด่นขจรเกียรติ
- การพัฒนาทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษด้วยสื่อ CAI และกิจกรรมช่องว่างระหว่างข้อมูล นายสุรชาติ รัศมี
- การใช้เทคนิคการสอนแบบ STAD,JIGSAW และ TGT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการทำงานร่วมกันในวิชาสังคมศึกษา (ส ๕๐๓) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนสามัคคีวิทยา ๒ นายบุญเพิ่ม จอมใจหาญ
- การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน รายวิชา ส ๑๐๑ ประเทศของเรา ๑ โดยใช้แผนการสอน : เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ นางเสาวณี อยู่รอด
- การพัฒนาบทเรียนภาษาไทย เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคเหนือ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กลุ่มโรงเรียนปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง นางรำพา ฤาชัย
- การจัดการแยกขยะมูลฝอยในโรงเรียน : กรณีศึกษาโรงเรียนวัดนาวง ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี นายนเรศน์ ม่วงรุ่ง
- การแก้ไขพฤติกรรมก้าวร้าวชอบแกล้งเพื่อน ของเด็กชายแมงปอ (นามสมมติ) ชั้นอนุบาล ๒ โรงเรียนวัดมะพร้าวเตี้ย สำนักงานเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร นางสาวอุษา สุทธิเกียรติสุข
- การใช้กระบวนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ นางสาวลักษณีย์ โคตรสีเขียว
๗. เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- การพัฒนาการเรียนการสอนแบบเน้นวิจัยผ่านเว็บเพื่อความใฝ่รู้ของนิสิตชั้นปีที่ ๑ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ใจทิพย์ ณ สงขลา
- การพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ทักษะการเรียน สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์
- แบบจำลองศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาของโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย นายวัชลิต แก่นสุวรรณ
- การผลิตและพัฒนาสื่อการเรียนร่วมวิชาคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ สำหรับนักเรียนตาบอดในชั้นเรียนปกติ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ นางสร้อยสุดา เดชพงษ์
- การพัฒนาโปรแกรมการสอนพยัญชนะอักษรเบรลล์สำหรับเด็กตาบอดวัยอนุบาลโดยใช้แนวคิดพหุปัญญา นางสาวสุภรณ์เพ็ญ พันธุ์มณี
๘. มาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
- ปัจจัยระดับบุคคลและระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับนวัตกรรมด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา ๑ รองศาสตราจารย์ ดร.ดุษฎี โยเหลา
- การพัฒนาแบบประเมินคุณภาพภายนอกด้านกระบวนการตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน นางสาวอนงนาฏ ใบแสง
- การประเมินคุณภาพการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ของโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ในเขตการศึกษา ๑๐ นายสุเมธ มัดธนู
- การประเมินประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครปีการศึกษา ๒๕๔๒ ดร.องอาจ นัยพัฒน์
- การพัฒนาแบบนิเทศและการนำไปใช้ในงานโครงการส่งเสริมคุณภาพ การศึกษาในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน นางสาวสุภาพร ศรีหามี
๙. การปฏิรูปการอุดมศึกษา
- รายงานการสังเคราะห์เอกสาร เรื่อง มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ศาสตราจารย์ ดร.อุทุมพร จามรมาน
- การศึกษาศักยภาพของสถาบันราชภัฏสวนดุสิต ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิทักษ์ จันทร์เจริญ
- รูปแบบการบริหารงานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในอนาคต รองศาสตราจารย์ ดร.พรชุลี อาชวอำรุง
- รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุขององค์ประกอบที่มีอิทธิพล ต่อภาวะความเป็นผู้นำของคณะบดีสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในสังกัด ทบวงมหาวิทยาลัย ดร.เกียรติกำจร กุศล
- การปฏิรูประบบการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา : การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในระดับปริญญาตรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์
- การนำเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการฝึกศึกษากำลังพลระดับสัญญาบัตรเพื่อการพัฒนานภานุภาพกองทัพอากาศไทย นาวาอากาศตรี ดร.สุมิตร สุวรรณ
๑๐. การปฏิรูปการศึกษาปฐมวัย
- ระบบ กลไก และประสิทธิภาพของสถานเลี้ยงดูเด็กของภาครัฐและเอกชนในปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ดร.จีระพันธุ์ พูลพัฒน์
- การศึกษาฉันทามติเกี่ยวกับการจัดบริการสถานเลี้ยงดูเด็กในประเทศไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ดุษฎี โยเหลา
- ผลของการส่งเสริมจริยธรรมทางสังคมตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ของเด็กวัยอนุบาล โดยการใช้การอภิปรายเพื่อแก้สถานการณ์ที่มีข้อขัดแย้งทางจริยธรรมในนิทานที่มีสองแพร่ง นางสาวพิชญ์ ขำมา
๑๑. การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา
- การวิเคราะห์ความเหมาะสมขององค์ประกอบที่ใช้ในระบบการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย ปีการศึกษา ๒๔๔๓-๒๕๔๕ รองศาสตราจารย์ ดร.สุวิมล ว่องวานิช
- GPA กับการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ดร.วิเชียร เกตุสิงห์
- การประเมินโครงการจัดส่งนักศึกษาชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลาม จังหวัดชายแดนภาคใต้เข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลัช จงสือพันธุ์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ์
- การพัฒนาระบบการรับรองปริญญาของต่างประเทศเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาของไทย ดร.จิรณี ตันติรัตนวงศ์
๑๒. กฎหมายเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา
- ผลการศึกษากฎหมายเพื่อการบริหารและจัดการศึกษาตามโครงสร้างใหม่ของกระทรวงศึกษาธิการ ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์
- การพัฒนาระบบข้อมูลกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองศาสตราจารย์ ดร.ชนิตา รักษ์พลเมือง
- ความเหมาะสมในการถ่ายโอนสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการให้แก่องค์ปกครองส่วนท้องถิ่น : บทสะท้อนจากกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย รองศาสตราจารย์ นิตยา เงินประเสริฐศรี
- ทำเนียบผู้วิจัย