ปีที่พิมพ์ : 2553
ISBN :
เอกสารฉบับนี้ สาระสำคัญของแนวทางการนำครูภูมิปัญญาไทยเข้าสู่กระบวนการจัดการเรียนรู้นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จากผลการวิจัยมาไว้ เพื่อให้หน่วยงานและบุคคลที่รับผิดชอบจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถนำไปใช้ได้โดยสะดวกมากยิ่งขึ้น
คำนำ |
กิตติกรรมประกาศ |
บทที่ 1 ภูมิปัญญาไทยกับการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย |
- ความหมายของภูมิปัญญา ภูมิปัญญาไทย และครูภูมิปัญญา
- ลักษณะของภูมิปัญญา
- ประเภทของภูมิปัญญาไทย
- ขอบข่ายของภูมิปัญญาไทย
- ความสำคัญของภูมิปัญญา
- ความสำคัญของภูมิปัญญาไทยในกฎหมายรัฐธรรมนูญ
- ความสำคัญของภูมิปัญญาไทยในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ
- ความสำคัญของครูภูมิปัญญาไทยใน นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
- ความสำคัญของภูมิปัญญาไทยในยุทธศาสตร์การส่งเสริม ภูมิปัญญาไทยของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
|
บทที่ 2 การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย |
- ความหมายของการศึกษานอกระบบ
- ความหมายของการศึกษาตามอัธยาศัย
- ความสำคัญของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาที่ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
- การส่งเสริมภูมิปัญญาไทยที่ปรากฏในแผนยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
|
บทที่ 3 หลักการ ทฤษฎี รูปแบบ วิธีการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย |
- หลักการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- หลักการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner Center Approach)
- หลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Learner Center)
- หลักการจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์ (Learning by Experience)
- หลักการจัดการเรียนรู้แบบเน้นการปฏิบัติ (Learning by Doing)
- หลักการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self Directed Learning)
- หลักการเรียนรู้เพื่อการรอบรู้ (Mastery Learning)
- หลักการเรียนรู้ที่ตอบสนองชีวิตจริง (Authentic Learning)
- หลักการเรียนรู้ตามแนวคิดทฤษฎีการสร้างปัญญา (Constructivism)
- วิธีการถ่ายทอดความรู้
|
บทที่ 4 การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย |
- หลักการสำคัญการจัดการศึกษานอกระบบ ตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน
- การจัดการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ
- การจัดการศึกษานอกโรงเรียนสายอาชีพ
- กิจกรรมการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย
|
บทที่ 5 การนำภูมิปัญญาไทยมาใช้ในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย |
- แนวทางการส่งเสริมครูภูมิปัญญาไทยในการนำภูมิปัญญา เข้าสู่กระบวนการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ ตามอัธยาศัย
- ข้อเสนอแนะ
- รูปแบบการถ่ายทอดความรู้ของครูภูมิปัญญาไทย
- รูปแบบการนำครูภูมิปัญญาไทยและองค์ความรูู้ ของครูภูมิปัญญาไทยเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้นอกระบบ โรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
- แนวทางการส่งเสริมและนำครูภูมิปัญญาไทยเข้าสู่กระบวนการจัดการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
- แนวทางการส่งเสริมครูภูมิปัญญาไทยเข้าสู่การศึกษาตามอัธยาศัย
|
ภาคผนวก |
- หลักสูตรครูภูมิปัญญาไทย
- หลักสูตรท้องถิ่น
|
บรรณานุกรม |
คณะทำงาน |
Download