รายงานการวิจัย การจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต : ห้องสมุดประชาชน
ปีที่พิมพ์ : 2549
ISBN : 974-559-77
ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประเภท ห้องสมุดประชาชน เพื่อวิเคราะห์นโยบายและแผนส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดประชาชน ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และศึกษามาตรฐานการจัดการเรียนรู้ของห้องสมุดประชาชน
คำนำ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
- วัตถุประสงค์ของการวิจัย
- ขอบเขตของการวิจัย
- คำจำกัดความของการวิจัย
- ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย
บทที่ 2 วรรณคดีที่เกี่ยวข้อง
- การศึกษาตลอดชีวิต
- พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
- การศึกษานอกระบบโรงเรียน
- การศึกษาตามอัธยาศัย
- แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน
- ห้องสมุดประชาชน
- ห้องสมุดประชาชนแนวใหม่และห้องสมุดในอนาคต
- งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- กรอบการวิจัย
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
- ระยะที่ 1 ขั้นการสำรวจและศึกษาการจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทางห้องสมุดประชาชน
- ระยะที่ 2 ขั้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์การจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทางห้องสมุดประชาชน
- ระยะที่ 3 ขั้นการนำเสนอการจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทางห้องสมุดประชาชน
บทที่ 4 ผลการจัดห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งเรียนรู้
- กรณีศึกษาที่ 1 ห้องสมุดประชาชนกรุงเทพมหานคร เขตบางกอกใหญ่
- กรณีศึกษาที่ 2 ห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ คันที่ 3 (บางซื่อ-ประชาชื่น)
- กรณีศึกษาที่ 3 ห้องสมุดประชาชนกรุงเทพมหานคร สวนลุมพินี
- กรณีศึกษาที่ 4 บ้านหนังสือสวนสวย เขตสาทร
- กรณีศึกษาที่ 5 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดเชียงใหม่
- กรณีศึกษาที่ 6 หอสมุดรัชมังคลาภิเษก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- กรณีศึกษาที่ 7 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดระยอง
- กรณีศึกษาที่ 8 ห้องสมุดประชาชนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดขอนแก่น
- กรณีศึกษาที่ 9 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดสงขลา
บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
- สรุปการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
- ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม