สภาวะการศึกษาไทย ปี 2550/2551 ปัญหาความเสมอภาค และคุณภาพของการศึกษาไทย
ปีที่พิมพ์ : 2552
ISBN :
รายงานฉบับนี้นำเสนอข้อมูลข่าวสารที่สะท้อนให้เห็นภาพสภาวะการศึกษาที่เป็นจริง และภาพใหญ่ของสภาพการพัฒนาการศึกษาของไทยในรอบปีที่ผ่านมาและปีปัจจุบัน เพื่อเป็นการสนับสนุนการกำหนดนโยบาย การวางแผนการศึกษา และการดำเนินงานติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของประเทศ
คำนำ
คำชี้แจง
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ 1 การเมือง เศรษฐกิจ สังคมไทย และความสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศ
1.1 การเมืองเศรษฐกิจไทยช่วงปี 2550 -ครึ่งปีแรกของปี 2551
1.2 เปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยกับประเทศอื่น
บทที่ 2 การจัดการศึกษาในปีการศึกษา 2550-2551
2.1 โอกาสในการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานของประชากรวัยเรียน
2.2 การอาชีวศึกษา
2.3 ระดับอุดมศึกษา
2.4 การจัดการศึกษาโดยเอกชน
2.5 การจัดการศึกษาโดยท้องถิ่น
2.6 การจัดการศึกษาที่จัดโดยสงฆ์
2.7 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
2.8 การศึกษาสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส นักเรียนพิการ และกลุ่มเด็กพิเศษ
2.9 ปัญหาการออกกลางคันในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.10 ผู้สำเร็จการศึกษา
2.11 งบประมาณการศึกษา
2.12 การได้รับการศึกษาของแรงงานทั่วประเทศ
บทที่ 3 ปัญหาความไม่เสมอภาคในการได้รับบริการทางการศึกษา
3.1 นักเรียนที่ต้องออกกลางคัน
3.2 ความเสมอภาคและประสิทธิภาพของการใช้จ่ายทางการศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศอื่น
3.3 การประเมินโอกาสและคุณภาพการศึกษาของคนไทยในระดับ การศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.4 การศึกษาภาคบังคับและโอกาสทางการศึกษาของเด็กยากจน
3.5 บทบาทของรัฐในด้านการศึกษา
3.6 ความไม่เสมอภาคในด้านผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักเรียนจังหวัดต่าง ๆ
บทที่ 4 ปัญหาการพัฒนาคุณภาพในการจัดการศึกษา
4.1 คุณภาพการศึกษาไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น
4.2 การประเมินคุณภาพภายนอกของการจัดการศึกษาระดับต่าง ๆ
4.3 ปัญหาคุณภาพของสถานศึกษา
4.4 ปัญหาคุณภาพของนักเรียน
4.5 ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพสถานศึกษาและนักเรียน
4.6 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
บทที่ 5 ปัญหาการพัฒนาครูอาจารย์
5.1 จำนวนครู อาจารย์ อัตราส่วนนักเรียนต่อครูและภาระงาน
5.2 ปัญหาและแนวโน้มทางแก้ไขในการพัฒนาครูอาจารย์
บทที่ 6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
6.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.2551-2555)
6.2 บทวิเคราะห์ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยผู้วิจัย
บทที่ 7 แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อความสุข
7.1 การส่งเสริมการเตรียมความพร้อมและทำให้เด็กเล็กมีความสุขในการเรียนรู้ คือ พื้นฐานที่สำคัญ
7.2 การจัดการศึกษาที่ดีต้องมุ่งให้เรียนได้พัฒนาตนเองทุกด้านอย่างมีความสุขและเพื่อความสุข
7.3 แรงจูงใจจากภายในตัวเรา มีค่ามากกว่าแรงจูงใจจากปัจจัยภายนอก
7.4 จะปฏิรูปการศึกษาได้ต้องปฏิรูปการประเมินผลด้วย
7.5 การประเมินผลที่ดีและการเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง
7.6 ความสำคัญของการรักการเรียนรู้ตลอดชีวิต
บทที่ 8 แนวโน้มของประเทศไทย และสรุปแนวทางการปฏิรูปการจัดการศึกษา
8.1 แนวโน้มประชากรไทย
8.2 แนวโน้มปัญหาเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมของโลก
บรรณานุกรม