ยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ : ด้านศักยภาพของคนไทย
ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN :
ยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ : ด้านศักยภาพของคนไทย ฉบับนี้ขึ้น ตามมติที่ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและการลงทุน เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2544 ที่ได้รับมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเสนอแนะแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในด้านต่าง ๆ
คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 ขีดความสามารถในการแข่งขันของคนไทย
- การจัดอันดับการพัฒนามนุษย์ของ UNDP
- การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของ IMD
- วิเคราะห์จุดแข็ง/จุดอ่อน ด้านศักยภาพของคนไทยสรุป
บทที่ 3 การดำเนินงานในการพัฒนาศักยภาพของประเทศต่าง ๆ
- ส่วนที่ 1 ยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน : สหราชอาณาจักร
- ส่วนที่ 2 การดำเนินงานพัฒนาศักยภาพคนของประเทศต่าง ๆ
- ประเทศสิงคโปร์
- ประเทศเวียดนาม
- ประเทศเกาหลี
- ประเทศญี่ปุ่น
- สาธารณรัฐประชาชนจีน
- ประเทศมาเลเซีย
- บทสรุปวิเคราะห์เปรียบเทียบการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพมนุษย์ของประเทศ
ที่คัดสรร
บทที่ 4 การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ : ข้อเสนอจากการประชุมระดับสูง APEC
- ความเป็นมา
- การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ : ข้อเสนอจากการประชุม
- สรุปข้อเสนอ Beijing Initiative
- บทบาทของประเทศไทยต่อการเพิ่มศักยภาพของคนชองเอเปค
- ข้อเสนอแนะของคณะผู้แทนไทยที่เข้าร่วมประชุม
บทที่ 5 การดำเนินงานพัฒนาศักยภาพของคนไทยเพื่อพัฒนาขีด
ความสามารถในการแข่งขัน
- สภาพปัจจุบันการพัฒนาศักยภาพของคนไทย
- การดำเนินการปฏิรูปการศึกษา
- การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ด้านอาชีวศึกษา
- การอุดมศึกษา
- การปฏิรูปการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสำคัญที่สุด
- การปฎิรูปวิชาชีพครู
- มาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
- การปฏิรูปด้านอื่น ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาศักยภาพของคนไทย
- ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- ความเป็นนานาชาติ
- วิจัยและพัฒนา
- สรุป
บทที่ 6 ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน
ด้านศักยภาพของคนไทย
- วิสัยทัศน์และเป้าหมาย
- วิสัยทัศน์การศึกษาไทยยุคใหม่
- เป้าหมาย
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพคนไทย
- การเปลี่ยนวัฒนธรรมการเรียนรู้
- การยกระดับการศึกษาพื้นฐาน
- มุ่งความเป็นเลิศในระดับอุดมศึกษา
- การสร้างคุณภาพของแรงงาน
- การศึกษาสำหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ
- การส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- ม่งความเป็นนานาชาติบนพื้นฐานของวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาไทย
- กระบวนการบริหารจัดการเพื่อนำยทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
- การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม
- การจัดระบบข้อมูล
- จัดตั้งองค์กรขึ้นรับผิดชอบศักยภาพคนไทย
- ระบบการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
- การติดตามและประเมินผล
- เพิ่มประสิทธภาพการใช้ทรัพยากร
- ข้อเสนอแนะสำหรับการประชุมครั้งต่อไป
เอกสารอ้างอิง
คณะผู้จัดทำ