รายงานการศึกษา สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของคนไทย
ปีที่พิมพ์ : 2549
ISBN : 974-015-19-49
เป็นฐานข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งการเรียนรู้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 รวมทั้งแหล่งข้อมูลและแหล่งการเรียนรู้อื่น อาทิ แหล่งการเรียนรู้ประเภทสถานที่ ได้แก่ พิพิธภัณฑสถาน หอศิลป์ ห้องสมุดประชาชน และแหล่งการเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ ครูภูมิปัญญา ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ ครูแห่งชาติ และครูต้นแบบ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Sytem : GIS) ซึ่งบ่งชี้ให้ ทราบถึงแหล่งการเรียนรู้ที่มีอยู่ในทุกภูมิภาคและในทุกเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อให้ทราบว่าแต่ละเขตพื้นที่การศึกษามีแหล่งการเรียนรู้ประเภทใดที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน และผู้เรียนจากต่างเขตพื้นที่การศึกษาที่สนใจสามารถศึกษาเรียนรู้ในเรื่องต่างๆ ได้
คำนำ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมา
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขตของการดำเนินงาน
1.4 คำถามของการศึกษา
1.5 วิธีการดำเนินงาน
1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.7 กรอบแนวคิด
บทที่ 2 แนวคิด หลักการ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 สาระบัญญัติตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
2.2 แนวนโยบายเพื่อดำเนินการตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
2.3 แนวนโยบายรัฐบาล
2.4 แนวคิดการปฏิรูการเรียนรู้
2.5 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2.6 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน
2.7 แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
2.8 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 การดำเนินงานแหล่งการเรียนรู้ ของ สกศ.
3.1 การดำเนินงานเกี่ยวกับแหล่งการเรียนรู้
3.2 การดำเนินงานโครงนำร่องเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ของ สกศ.
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.1 การวิเคราะห์ข้อมูล
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์แหล่งการเรียนรู้ประเภทต่างๆ ในภาพรวมของประเทศ รายภาค และ รายเขตพื้นที่การศึกษา
ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เพื่อหาพื้นที่ควรดำเนินการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ประเภทต่างๆ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ของคนไทย
บทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศึกษา
5.2 ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม