รายงานฉบับสมบูรณ์ การจัดสรรทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีที่พิมพ์ : 2551
ISBN :
รายงานฉบับนี้นำเสนอกรอบแนวคิดและทฤษฏีว่าด้วยประสิทธิภาพการผลิต ผลการสำรวจ ผลการประมาณการประสิทธิภาพทางเทคนิคของระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยแบบจำลอง DEA ด้านปัจจัยการผลิตบริการการศึกษา
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.3 ขอบเขตและวิธีการศึกษา
1.4 องค์ประกอบของรายงาน
บทที่ 2 กรอบแนวคิดและทฤษฎีว่าด้วยประสิทธิภาพการผลิต
2.1 ความหมายของประสิทธิภาพการผลิตของโรงเรียนในทางเศรษฐศาสตร์
2.2 แบบจำลองกำหนดฟังก์ชั่นต้นทุนการให้บริการสาธารณะ (Stochastic Cost Frontier)
2.3 การวัดประสิทธิภาพการผลิตบริการทางการศึกษาจากฟังชั่นการผลิต
2.4 การวัดประสิทธิภาพทางการศึกษาด้วยแบบจำลอง Data Envelopment Analysis (DEA)
บทที่ 3 ผลการสำรวจ
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.2 การแบ่งขนาดสถานศึกษา
3.3 การเก็บข้อมูลภาคสนาม
3.4 แบบสำรวจที่ใช้ในการวิจัย
3.5 ผลการสำรวจ
บทที่ 4 ผลการประมาณการประสิทธิภาพทางเทคนิคของระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.1 แบบจำลองที่ใช้ในการศึกษา
4.2 ผลการประมาณค่าพารามิเตอร์
4.3 วิเคราะห์ผลการประมาณค่าสัมประสิทธิ์ ความยืดหยุ่นหน่วยสุดท้ายของผลผลิตต่อปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด
4.4 ผลการวิเคราะห์ความด้อยประสิทธิภาพในการผลิต (Inefficiency Effects)
4.5 ค่าประสิทธิภาพทางเทคนิคของการศึกษาไทย
บทที่ 5 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยแบบจำลอง DEA จากด้านต้นทุนการใช้ปัจจัยการผลิต
5.1 แบบจำลองวิเคราะห์การใช้ปัจจับการผลิตที่หมาะสมในระบบการศึกษา (Data Envelopment Analysis for Education Sevice Production)
5.2 ผลการศึกษาโดยไม่แยกขนาดสถานศึกษา
5.3 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดเล็กจำนวน 288 โรง
5.4 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดกลาง จำนวน 230 โรง
5.5 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดใหญ่จำนวน 108 โรง
5.6 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษจำนวน 111 โรง
บทที่ 6 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพระบบการศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยแบบจำลอง DEA ด้านผลผลิตบริการการศึกษา
6.1 แบบจำลอง DEA ด้านผลผลิตบริการการศึกษา
6.2 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดเล็ก จำนวน 288 โรง
6.3 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดกลาง จำนวน 230 โรง
6.4 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดใหญ่ จำนวน 108 โรง
6.5 ผลการศึกษาเฉพาะสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ จำนวน 111 โรง
6.6 สังเคราะห์ผลการศึกษา
บทที่ 7 การประมาณการความต้องการบริการทางการศึกษาและขนาดเงินอุดหนุนในการลงทุนทางการศึกษา
7.1 ความต้องการบริการทางการศึกษา
7.2 แบบจำลองด้านอุปสงค์
7.3 แบบจำลองด้านอุปทาน
7.4 ค่าใช้จ่ายรายหัวในระบบการศึกษา
บทที่ 8 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
8.1 สรุปผลการศึกษา
8.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. แบบสำรวจที่ใช้ในการศึกษา
ภาคผนวก ข. ผลการวิเคราะห์จากแบบจำลอง DEA
ภาคผนวก ค. ผลการประมาณการทางเศรษฐมิติ

