รายงานการวิจัย เรื่อง ระบบการบริหารจัดการเพื่อการจัดสรรทรัพยากรสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN :
เนื่องจากการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติเป็นเรื่องใหม่และยังไม่มีการศึกษาให้ชัดเจนมาก่อนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติจึงได้จัดให้มีการศึกษาวิจัยเรื่อง"ระบบการบริหารจัดการเพื่อการจัดสรรทรัพยากรสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน12 ปี ที่สอดรับกับ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 "
คำนำ
คำชี้แจงของผู้วิจัย
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ 1 เหตุผลและความจำเป็นในการศึกษา
บทที่ 2 ประสบการณ์จากต่างประเทศ : กรณีศึกษาและข้อควรพิจารณาสำหรับประเทศไทย
- ประสบการณ์จากสหภาพแอฟริกาใต้
- ประสบการณ์จากสหรัฐอเมริกา
- ประสบการณ์จากออสเตรเลีย เปรียบเทียบกับ สหรัฐอเมริกา แคนาดา และอังกฤษ
- แนวทางที่ใช้ในรัฐวิคตอเรีย ออสเตรเลีย
- แนวทางที่ใช้ในแคนาดา
- แนวทางที่ใช้ในสหราชอาณาจักร
บทที่ 3 สภาพปัจจุบันและความพยายามในการปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณ
- ปัญหาในการระดมเงินงบประมาณเพื่อการศึกษา
- ปัญหาในการจัดสรรงบประมาณ
- ปัญหาด้านความเป็นธรรม
- ปัญหาด้านการจัดทำและการบริหารงบประมาณ
- การปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณ
- การปฏิรูประบบงบประมาณกับการปฏิรูประบบการบริหารและการจัดการศึกษา
บทที่ 4 ข้อเสนอแนะในการจัดสรรงบประมาณและบริหารจัดการงบประมาณทางการศึกษา
- การใช้ดัชนีความขัดสนเป็นกรอบพิจารณาจัดสรรงบประมาณ
- ข้อเสนอประการแรก
- การจัดลำดับความสำคัญเชิงกลยุทธ์ (Strategic Prioritization) ของงบประมาณรายจ่ายทางการศึกษา
- ข้อเสนอประการที่สอง
- การเปลี่ยนโครงสร้างแผนงานด้านการศึกษา
- ข้อเสนอประการที่สาม
- ระดับของการมีทรัพยากรทางการศึกษา
- ข้อเสนอประการที่สี่
- การใช้การจัดสรรงบประมาณเพื่อลดความไม่เท่าเทียมกัน
- ข้อเสนอประการที่ห้า
- การบริหารจัดการงบประมาณ
- ข้อเสนอประการที่หก
- การจัดระบบข้อมูลเพื่อประกอบการจัดสรรและการบริหารจัดการงบประมาณ
- ข้อเสนอประการที่เจ็ด
- สรุปและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก