รูปแบบการจัดสรรเงินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพื่อให้เกิดความเสมอภาคและประสิทธิภาพ กรณีศึกษาจากประเทศออสเตรเลีย
ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN :
รูปแบบการจัดสรรเงินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพื่อให้เกิดความเสมอภาคและประสิทธิภาพ กรณีศึกษาจากประเทศออสเตรเลีย มลรัฐวิคตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย เป็นตัวอย่างของการปฏิรูปการเงินที่ดำเนินการอย่างได้ผลและเป็นรูปธรรม การนำวิธีการจัดสรรงบประมาณโดยรวมของโรงเรียนมาใช้ (School Global Budget) เพื่อให้โรงเรียนมีความยืดหยุ่นในการบริหารเงินและบุคลากรเพื่อสนองตอบความต้องการของผู้เรียนซึ่งเป็นไปตาม รูปแบบการบริหารจัดการที่อาศัยโรงเรียนเป็นฐาน
คำนำ |
ตาราง 1 ค่าใช้จ่ายทางการศึกษา (ระดับประถมและมัธยมศึกษา) ต่อ GDP จำแนกตามแหล่งที่มาของทุน ตาราง 2 ค่าใช้จ่ายต่อหัวในโรงเรียนรัฐ จำแนกตามระดับการศึกษา รัฐและเขตปกครองตนเอง ปีงบประมาณ 2536-2537 ตาราง 3 โครงสร้างงบประมาณโดยรวมของโรงเรียน มลรัฐวิคตอเรีย ปีงบประมาณ 2538-2539 ตาราง 4 การจัดสรรค่าใช้จ่ายจำแนกตามระดับของความพิการ สำหรับนักเรียนที่พิการและ ทุพลภาพ ปี 2539 |
แผนภูมิที่ 1 การให้ค่าถ่วงน้ำหนักสำหรับการคำนวณค่าใช้จ่ายหลักในการจัดสรรงบประมาณ โดยรวมของโรงเรียน จำแนกรายชั้นเรียน : กรณีโรงเรียนทั่วไป แผนภูมิที่ 2 การปรับค่าเนื่องจากขนาดของโรงเรียน(ชั้นปีที่11และปีที่12)สำหรับการ คำนวณค่าใช้จ่ายหลัก แผนภูมิที่ 3 การให้ค่าถ่วงน้ำหนักสำหรับการคำนวณค่าใช้จ่ายหลักในการจัดสรรงบประมาณ โดยรวมของโรงเรียน จำแนกรายกลุ่มอายุ : กรณีโรงเรียนพิเศษ แผนภูมิที่ 4 การให้ค่าถ่วงน้ำหนักสำหรับการเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง ในการจัดสรรงบประมาณโดยรวมของโรงเรียน |

