รายงานการวิจัย โครงการวิจัยเพื่อกำหนดแผนที่ตั้งสถาบันอุดมศึกษา
ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN :
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการ และโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประชากรทั้งในปัจจุบันและอนาคต และเสนอแผนที่ตั้งสถาบันอุดมศึกษาที่เหมาะสม สอดคล้องกับแนวโน้มความต้องการและการพัฒนาประเทศ รวมทั้งเอื้อต่อการกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
บทที่ 1 โครงการวิจัยเพื่อกำหนดแผนที่ตั้งสถาบันอุดมศึกษา
- ที่มาและความสำคัญของปัญหา
- ประเด็นปัญหาสำหรับการศึกษาวิจัย
- วัตถุประสงค์ของการวิจัย
- ขอบเขตของการวิจัย
- ข้อมูลที่จำเป็น
- ระเบียบวิธีการศึกษา
- กรอบแนวความคิดในการวิจัย
บทที่ 2 หลักการ แนวคิด และทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
- ความนำ
- แนวคิดการปฏิรูปการศึกษาในประเทศไทย
- แนวคิดการบริหารการศึกษาระดับอุดมศึกษา
- แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วมของชุมชน
- แนวคิดเรื่องทำเลและที่ตั้ง
- แนวคิดเชิงเศรษฐศาสตร์
- แนวคิดการใช้อุปทางเป็นหลักอุปสงค์เป็นรอง
- แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฏีแหล่งกลาง
- บทสรุป
บทที่ 3 จากแผนงานสู่บูรณาการอุดมศึกษาเพื่อปวงชน
- การใช้เกณฑ์เพื่อการพัฒนาโครงการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
- ปรัชญาการศึกษาตลอดชีวิตกับการอุดมศึกษา
- ระบบการจัดการอุดมศึกษาแบบองค์รวม
บทที่ 4 ความต้องการการศึกษาระดับอุดมศึกษา
- ความต้องการการศึกษาระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน
- แนวโน้มความต้องการการศึกษาระดับอุดมศึกษาในอนาคต
- ความต้องการและโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน
บทที่ 5 วิทยาเขตสารสนเทศ 10 แห่ง
- นโยบายและเป้าหมายโดยรวมของแต่ละสถาบันในการเปิด/ขยายวิทยาเขตสารสนเทศ
- การวิเคราะห์ความเหมาะสมของวิทยาเขตสารสนเทศ
- ผลการวิเคราะห์เบื้องต้นวิทยาเขตสารสนเทศ 10 แห่ง
- วิทยาเขตสารสนเทศลพบุรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วิทยาเขตสารสนเทศสระแก้ว มหาวิทยาลัยบูรพา
- วิทยาเขตสารสนเทศราชบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
- วิทยาเขตสารสนเทศนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- วิทยาเขตสารสนเทศอุดรธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- วิทยาเขตสารสนเทศนครพนม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- วิทยาเขตสารสนเทศบุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- วิทยาเขตสารสนเทศกำแพงเพชร มหาวิทยาลัยนเรศวร
- วิทยาเขตสารสนเทศกระบี่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- บทสรุป
บทที่ 6 สถานภาพปัจจุบันของสถาบันอุดมศึกษา
- เขตที่กำหนดศึกษา และจำนวนประชากร
- ประเภทและจำนวนสถาบันอุดมศึกษา
- จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
- สัดส่วนและอัตราการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
- หลักสูตรการเรียนการสอนและการจัดการศึกษา
บทที่ 7 แนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลกกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย
- แนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโลก
- สภาพปัจจุบันและแนวโน้มการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนการสอน
- โครงสร้างพื้นฐาน
- ทิศทางการพัฒนาและแนวโน้มความต้องการกำลังคนระดับอุดมศึกษา
- ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการวางแผนการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา
- การพัฒนานโยบายและการจัดการอุดมศึกษาในศตวรรษใหม่
บทที่ 8 สรุปข้อค้นพบ และหลักการในการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา
- ความนำ
- สรุปข้อค้นพบ
- อุปสรรค ปัญหา และข้อจำกัดในการพัฒนาอุดมศึกษา
- หลักการในการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษาในอนาคต
- รูปแบบของสถาบันอุดมศึกษาที่จะมีการกำหนดจุดที่ตั้งในอนาคต
- การบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษา
- สาขาวิชาที่ควรเปิดสอน
บทที่ 9 การกำหนดจุดที่ตั้งสถาบันอุดมศึกษา
- การกำหนดจุดที่ตั้งสถาบันอุดมศึกษา
- เขตศึกษาที่ 1
- เขตศึกษาที่ 2
- เขตศึกษาที่ 3
- เขตศึกษาที่ 4
- เขตศึกษาที่ 5
- เขตศึกษาที่ 6
- เขตศึกษาที่ 7
- เขตศึกษาที่ 8
- เขตศึกษาที่ 9
- เขตศึกษาที่ 10
- สรุปสถาบันอุดมศึกษาตามข้อเสนอ
- ข้อดี ข้อเสีย ของข้อเสนอการกำหนดจุดที่ตั้งสถาบันอุดมศึกษา
- มาตรการ/แนวทางในการกำหนดจะที่ตั้งสถาบันอุดมศึกษา
- ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจและความคุ้มทุน
- ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษาในอนาคต
สารบัญตาราง