ปีที่พิมพ์ : 2547

ISBN :

รายงานฉบับนี้เป็นเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษาไทยในระดับโรงเรียนประถมศึกษา

 

คำนำ
คำชี้แจง
บทคัดย่อ
สารบัญ

บทที่ ๑ บทนำ

๑.๑ ใครบ้างมีพรสวรรค์ทางภาษา
๑.๒ พรสวรรค์ในภาษาไทย
๑.๓ กรณีศึกษาเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางภาษา
๑.๔ ปัญหาและความต้องการ
๑.๕ ลักษณะของเด็กที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษา
๑.๖ การเสาะหาเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางภาษา

บทที่ ๒ ปรัชญา วิสัยทัศน์ และกรอบทฤษฏี

๒.๑ ปรัชญาและวิสัยทัศน์ของรัฐในการพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษทางภาษา
๒.๒ กรอบทฤษฎี
๒.๓ ทฤษฎีทางพุทธศาสนา
๒.๔ การเรียนภาษาแม่

บทที่ ๓ การวางแผนพัฒนาความสามารถพิเศษทางภาษา

๓.๑ กรอบนโยบายและวัตถุประสงค์
๓.๒ หลักสูตรภาษาแม่
๓.๓ หลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาษา
๓.๔ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษ
๓.๕ แนวทางหรือทางเลือกในการจัดโครงการการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษ
๓.๖ วิธีการเสาะหาเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางภาษา
๓.๗ หลักสูตร เนื้อหา กิจกรรม และสภาพแวดล้อม สำหรับการพัฒนาความสามารถพิเศษ
๓.๘ ความแตกต่างระหว่างหลักสูตรสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะทางและเด็กในห้องเรียนปกติ
๓.๙ การประเมินความสำเร็จของโครงการ
๓.๑๐ ตัวอย่างการจัดโปรแกรมในโรงเรียนมัธยมที่รัฐ วิคตอเรีย ออสเตรเลีย

บทที่ ๔ โครงการนำร่อง : การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษาไทยในระดับประถมศึกษา

๔.๑ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
๔.๒ การเสาะหาและการคัดสรร
๔.๓ ความแตกต่างระหว่างหลักสูตรสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษากับหลักสูตรปกติ
๔.๔ เงื่อนไขและบริบทของการนำหลักสูตรไปใช้
๔.๕ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย เนื้อหา สภาพแวดล้อม กิจกรรม และสื่อการสอนในการพัฒนาความสามารถพิเศษทางภาษาในโรงเรียนนำร่อง ในระดับประถมศึกษา
๔.๖ ประมวลรายวิชาและแผนการสอน
๔.๗ การะประเมินโครงการ

บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลของการศึกษาวิจัย
๕.๒ อภิปรายผลของงานวิจัย
๕.๓ ข้อเสนอแนะ

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด