ปีที่พิมพ์ : 2547

ISBN :

รายงานฉบับนี้เป็นเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษในระบบโรงเรียนประถมศึกษา

คำนำ
คำชี้แจง

บทที่ 1 การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ

  • ทำไมจึงต้องจัดการศึกษาให้เด็กที่มีความสามารถพิเศษทางภาษาไทย
  • เด็กที่มีความสามารถพิเศษทางภาษาไทยอยู่ที่ไหน มีใครบ้าง และรู้ได้อย่างไร ใช้อะไรวัด
  • คำนิยามความสามารถพิเศษทางภาษาคืออะไร
  • พรสวรรค์ในภาษาไทย
  • ทฤษฎีพหุปัญญา ของการ์ดเนอร์
  • ทฤษฎีสมองซ้ายและสมองขวา
  • ความสามารถพิเศษทางภาษาและอาชีพที่เหมาะสม
  • เด็กที่มีความสามารถพิเศษอยู่ที่ไหน รู้ได้อย่างไร
  • การเสาะหาและการคัดเลือก

บทที่ 2 การจัดการศึกษาให้เด็กที่มีความสามารถพิเศษ

  • หลักการณ์ในการพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษทางภาษา
  • โครงสร้างหลักสูตร
  • พัฒนาการทางภาษา เป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรม บทบาทของนักเรียนบทบาทของครู บรรยากาศและสภาพแวดล้อม

บทที่ 3 หลักสูตรสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษโรงเรียนไผทอุดมศึกษา

  • วัตถุประสงค์
  • โครงสร้างหลักสูตร
  • เวลาเรียน
  • เงื่อนไขและบริบทของการนำหลักสูตรไปใช้
  • แผนการสอน

    หน่วยการเรียนที่ 1: วรรณกรรมเด็ก - ประตูสู่สวนภาษา
    บันทึกของครู
    บันทึกของนักเรียน
    แบบวัดพัฒนาการของผู้เรียน

    หน่วยการเรียนที่ 2 : ศิษย์มีครู - ขงเบ้งน้อย
    แบบวัดพัฒนาการของผู้เรียน

    หน่วยการเรียนที่ 3 : ไปร้านหนังสือ - ประตูสู่สวนอักษร
    แบบวัดพัฒนาการของผู้เรียน

หน่วยการเรียนที่ 4 : ปลูกต้นบรรณพฤกษ์
แบบวัดพัฒนาการของผู้เรียน
แบบประเมิน แววขงเบ้งน้อย
บันทึกของผู้สอน

หน่วยการเรียนที่ 5 : ลานภาษา
แบบวัดพัฒนาการของผู้เรียน
แบบประเมินแววศรีปราชญ์น้อย
แบบประเมินแววล่ามและนักแปล
แบบบันทึกความสามารถในการคิดของเด็ก

  • สื่อการสอนสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาษาไทย

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด