ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาหลักสูตรระยะเวลาและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ที่มีการดำเนินการ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการคัดแยกผู้มีความสามารถพิเศษ ด้านภาษาไทยให้ได้รับการพัฒนาในการขยายประสบการณ์ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ต่อไป

คำนำ


คำชี้แจง
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ

 

  1. ภูมิหลัง
  2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
  3. ขอบเขตของการศึกษา
  4. วิธีดำเนินการศึกษา
  5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  6. นิยามศัพท์เฉพาะ

 

บทที่ 2 แนวความคิดและกรอบทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

 

  1. เด็กที่มีความสามารถพิเศษคือใคร?
    • "ความสามารถพิเศษทางภาษา" คืออะไร
    • ลักษณะของเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางภาษา
    • เก่งภาษา...ก้าวขึ้นสู่มืออาชีพ
    • กรณีศึกษาของผู้ที่มีความสามารถพิเศษทางภาษา
    • ปัญหาและความต้องการของเด็กที่มีความสามารถพิเศษทางภาษา
    • การเสาะหาและการคัดแยก
  2. หลักสูตรสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
    • ความแตกต่างระหว่างหลักสูตรของเด็กที่มีความสามารถพิเศษกับหลักสูตรของเด็กปกติ
    • เป้าหมายของหลักสูตรสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
    • ลักษณะของหลักสูตรสำหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ
    • กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
    • การจัดตารางเรียนเพื่อพัฒนาผู้ที่มีความสามารถพิเศษ
    • การพัฒนาบุคลากรสำหรับเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
    • การจัดสภาพแวดล้อมสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
    • การประเมินผลงาน

 

บทที่ 3 รายงานผลของการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ

 

  1. การพัฒนาหลักสูตร
    • การพัฒนาหลักสูตรลดระยะเวลาเรียน
    • ลักษณะของหลักสูตรลดระยะเวลาเรียน
    • โครงสร้างหลักสูตร
  2. รายงานวิธีดำเนินการจัดการเรียนการสอนโดยโรงเรียนในโครงการ
    • โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
    • โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
    • โรงเรียนสตรีวิทยา
  3. การประเมินคุณภาพของหลักสูตร
    • โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
    • โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
    • โรงเรียนสตรีวิทยา
  4. สรุปการประเมินหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ของนักเรียนในโครงการ

 

บทที่ 4 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

  1. สรุปผลของการพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถสูงกว่าปกติ
  2. แนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสำหรับนักเรียนที่มีความสามารถสูงกว่าปกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
  3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
    • ข้อเสนอแนะระยะสั้น
    • ข้อเสนอแนะระยะยาว
  4. โครงสร้างศูนย์ประสานงานแห่งชาติสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ

 

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

 

  • ทำเนียบนักเรียน
  • แบบทดสอบก่อนการเรียน
  • แบบทดสอบหลังการเรียน
  • ตัวอย่างผลงานของผู้เรียน

 

สารบัญตาราง

 

1.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
3.1 การวิเคราะห์เนื้อหาของหลักสูตรภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
3.2 กระบวนการเรียนรู้ในหลักสูตร
3.3 หลักสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรลดระยะเวลาเรียน
3.4 โครงสร้างสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ทางภาษา
3.5 แผนการเรียนหลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
3.6 ระดับประสิทธิภาพของหลักสูตรจากการประเมินของผู้มีความสามารถพิเศษ
       ของโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
3.7 การประเมินหลักสูตรระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์
       ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
3.8 ความคิดเห็นและข้อแนะนำจากนักเรียนของโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
3.9 ระดับประสิทธิภาพของหลักสูตรจากการประเมินของผู้มีความสามารถพิเศษ
       โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
3.10 การประเมินหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์
         ของโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
3.11 ความคิดเห็นและข้อแนะนำจากนักเรียนของโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
3.12 ระดับประสิทธิภาพของหลักสูตรจากการประเมินของผู้มีความสามารถพิเศษ
         ของโรงเรียนสตรีวิทยา
3.13 การประเมินหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์
         ของโรงเรียนสตรีวิทยา
3.14 ความคิดเห็นและข้อแนะนำจากนักเรียนของโรงเรียนสตรีวิทยา
3.15 การประเมินหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์
         ของนักเรียนในโครงการ


Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด