คู่มือและแผนการสอนหลักสูตรขยายประสบการณ์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN : 974-241-659-1
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้ เพื่อรายงานผลการใช้หลักสูตร การผลิตสื่อ และคู่มือครู ซึ่งเป็นประโยชน์ในการพัฒนาเยาวชนของชาติ ที่จะเป็นทรัพยากรอันมีค่าของประเทศพร้อมนำเสนอชุดการเรียนการสอน
คำนำ
คำชี้แจง
สารบัญ
บทนำ
- ลักษณะของผู้มีความสามารถพิเศษ
- ใครคือผู้ที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษาไทย
- ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences)
- ลักษณะของหลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ
- หลักสูตรลดระยะเวลาเรียน (Acceleration Program)
- หลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ (Enrichment Program)
- หลักสูตรขยายประสบการณ์ (Extension Program)
- วัตถุประสงค์ของหลักสูตรขยายประสบการณ์
- ความแตกต่างและความเหมือนระหว่างหลักสูตรลดระยะเวลาเรียน หลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ และหลักสูตรขยายประสบการณ์
- การจัดตารางเรียนด้านภาษา
- โครงสร้างหลักสูตรขยายประสบการณ์
- วิธีการเรียนหลักสูตรสำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้านภาษา
- วิธีการวัดผล
- บริบทของการนำหลักสูตรไปใช้
สื่อการสอน
ปฐมนิเทศ
ใครคือผู้ที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษาไทย
ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences) คืออะไร
หลักสูตรขยายประสบการณ์เป็นอย่างไร
- วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
- เนื้อหาและกิจกรรม
- ใครมีสิทธิเข้าเรียนในหลักสูตรนี้
- ให้เกรดอย่างไร
ตัวอย่างหัวข้อชุดการเรียนการสอน
ชุดการเรียนการสอนที่ 1 พบพิธีกร คู่มือพิธีกรและผลงานของนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 2 ยุวมัคคุเทศก์ การสร้างเอกสารนำเที่ยว และผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 3 ค่ายนวนิยาย และผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 4 ผลิตวารสาร และผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 5 ภาษาไทยในจอ และผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 6 สอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศและผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 7 ภาษาพาสนุก และผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 8 รักษ์วรรณกรรม และผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 9 ฟังเทศน์ไพเราะเสนาะจิตและผลงานนักเรียน
ชุดการเรียนการสอนที่ 10 เบื้องหลังการจัดทำสารคดีและผลงานนักเรียน
ภาคผนวก
- ตัวอย่างทำเนียบนักเรียน
- แบบทดสอบก่อนการเรียน
- แบบทดสอบหลังการเรียน
สารบัญตาราง
ตารางที่
1.1 ความแตกต่างระหว่างหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ และหลักสูตรขยายประสบการณ์
1.2 ลักษณะร่วมกันของหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์และหลักสูตรขยายประสบการณ์
1.3 ขั้นตอนวิธีการสอน
1.4 แบบประเมินความพร้อมของโรงเรียน