ระเบียบปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานความต้องการการศึกษาพิเศษของสหราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์ : 2546
ISBN :
ระเบียบปฏิบัติและเกณฑ์มาตรฐานความต้องการการศึกษาพิเศษของสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยหน้าที่ของคณะกรรมการโรงเรียน บทบาทและความรับผิดชอบของโรงเรียน นโยบายความต้องการการศึกษาพิเศษของโรงเรียน ผู้ประสานงานความต้องการการศึกษาพิเศษ การบ่งชี้และการประเมิน
1. บทนำ | |
2. ขั้นตอนการประเมินและการจัดการศึกษาของโรงเรียน | |
คำนำ หน้าที่ของคณะกรรมการโรงเรียน บทบาทและความรับผิดชอบของโรงเรียน นโยบายความต้องการการศึกษาพิเศษของโรงเรียน ผู้ประสานงานความต้องการการศึกษาพิเศษ การบ่งชี้และการประเมิน ตัวแบบห้าขั้นตอน การเก็บบันทึกข้อมูล การอบรมครูประจำการ การทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น การเป็นหุ้นส่วนกับพ่อแม่ผู้ปกครอง การมีส่วนร่วมของเด็ก ความร่วมมือระหว่างองค์กรการศึกษาท้องถิ่น (อศท.) กับหน่วยบริการสุขภาพและหน่วยบริการสังคม หน่วยบริการสุขภาพเด็ก การมีส่วนร่วมของหน่วยบริการสังคมและหน่วย สวัสดิการการศึกษา หน่วยสนับสนุนความต้องการการศึกษาพิเศษ |
|
ขั้นตอนต่าง ๆ ที่โรงเรียน | |
ขั้นตอนที่ 1 | |
ลักษณะสำคัญ บทบาทและความรับผิดชอบ ข้อมูลที่จำเป็น การประเมินและการตอบสนองความต้องการการศึกษาพิเศษของเด็ก การจัดการศึกษาให้ต่อไป การแสวงหาคำแนะนำและความสนับสนุน การให้ความช่วยเหลือพิเศษในขั้นตอนที่ 1 การทบทวน |
|
ขั้นตอนที่ 2 | |
ลักษณะสำคัญ บทบาทและความรับผิดชอบ ข้อมูลที่จำเป็น การประเมินและการตอบสนองความต้องการการศึกษาพิเศษของเด็ก การแสวงหาคำแนะนำเพิ่มเติม การจัดการศึกษาพิเศษในขั้นตอนที่ 2 : แผนการศึกษาเฉพาะบุคคล การทบทวน |
|
ขั้นตอนที่ 3 | |
ลักษณะสำคัญ บทบาทและความรับผิดชอบ ข้อมูลที่จำเป็น การประเมินและการตอบสนองความต้องการการศึกษาพิเศษของเด็ก การแสวงหาคำแนะนำเพิ่มเติม การจัดการศึกษาพิเศษในขั้นตอนที่ 3 : แผนการศึกษาเฉพาะบุคคล และการมีส่วนร่วมของผู้เชี่ยวชาญ เป้าหมาย การทบทวน สรุป |
|
3. การประเมินความต้องการการศึกษาพิเศษตามกฎหมาย | |
คำนำ : ขั้นตอนที่ 4 เส้นทางของการส่งต่อ การเสนอส่งต่อโดยโรงเรียนของเด็กหรือหน่วยงานอื่น บันทึกข้อเสนอให้มีการประเมินตามกฎหมาย การแจ้งให้หน่วยงานอื่นทราบถึงข้อเสนอให้มีการประเมิน การร้องขออย่างเป็นทางการของพ่อแม่ ผู้ปกครอง การร้องขออย่างเป็นทางการของโรงเรียนในความอุปถัมภ์และได้รับ เงินอุดหนุน เด็กที่ต้องส่งต่อเพื่อการประเมินอย่างเร่งด่วน |
|
กำหนดเวลาของการประเมินและการทำประกาศ | |
การพิจารณาว่ามีความจำเป็นต้องประเมินตามกฏหมายหรือไม่ การทำการประเมินและประกาศ ข้อยกเว้นเกี่ยวกับกำหนดเวลา |
|
เกณฑ์การตัดสินใจสำหรับการทำการประเมินตามกฎหมาย | |
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ การจัดการศึกษาพิเศษ ปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาการเรียนรู้ของเด็ก การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาการเรียนรู้เฉพาะด้าน ( เช่น ดิสเลกเซีย) ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้เฉพาะด้าน การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้เฉพาะด้าน ปัญหาทางอารมณ์และพฤติกรรม ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กที่มีปัญหาทางอารมณ์และพฤติกรรม การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีปัญหาทางอารมณ์และพฤติกรรม ความบกพร่องทางร่างกาย ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย ความบกพร่องทางประสาทรับรู้ : ความบกพร่องทางการได้ยิน ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ความบกพร่องทางประสาทรับรู้ : ความบกพร่องทางสายตา ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา ความบกพร่องทางการพูดและการใช้ภาษา ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและการใช้ภาษา การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและการใช้ภาษา ปัญหาสุขภาพ ปัญหาการเรียนรู้ของเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีปัญหาสุขภาพ |
|
การประเมินตามกฎหมาย | |
การไม่เห็นด้วยกับเกณฑ์ การตัดสินใจไม่ประเมินตามกฎหมาย การตัดสินใจประเมินตามกฎหมาย การร้องขอคำแนะนำ คำแนะนำของพ่อแม่ ผู้ปกครอง คำแนะนำทางการศึกษา คำแนะนำทางการแพทย์ คำแนะนำทางจิตวิทยา คำแนะนำของหน่วยบริการสังคม การมีส่วนร่วมของเด็ก คำแนะนำอื่น ๆ |
|
4. ประกาศความต้องการการศึกษาพิเศษ | |
เกณฑ์การตัดสินใจเขียนประกาศ | |
การพิจารณาจัดบริการที่อาจมีความจำเป็นให้เด็ก การประเมินและการจัดสถานที่เรียนฉุกเฉินให้เด็ก การตัดสินใจไม่ทำประกาศแต่ใช้บันทึกแทน |
|
การเขียนประกาศ | |
ตอนที่ 2 : ความต้องการการศึกษาพิเศษ (ปัญหาการเรียนรู้) ตอนที่ 3 : การจัดบริการการศึกษาพิเศษ ตอนที่ 4 : การจัดหาสถานที่เรียน ตอนที่ 5 : ความต้องการที่ไม่เป็นเรื่องการศึกษา ตอนที่ 6 : การจัดบริการที่ไม่เป็นเรื่องการศึกษา การบำบัดทางการพูดและการใช้ภาษา ประกาศฉบับร่าง การระบุชื่อโรงเรียน การปรึกษาหารือก่อนระบุชื่อโรงเรียนในประกาศ ค่าใช้จ่ายสำหรับการเดินทางของเด็กที่มีประกาศ การจัดการศึกษาในสถานที่อื่นที่ไม่ใช่โรงเรียน เด็กได้รับการศึกษาโดยใช้เงินของพ่อแม่ ผู้ปกครอง การมีส่วนร่วมและข้อเสนอแนะของพ่อแม่ ผู้ปกครองในประกาศฉบับร่าง ประกาศฉบับจริง บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้ง การเก็บรักษา การเปิดเผย และการส่งต่อประกาศ การเก็บรักษาประกาศ |
|
5. การประเมินและการทำประกาศสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี | |
คำนำ การประเมินเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ประกาศสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี การประเมินเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เกณฑ์การประเมินสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีตามกฎหมาย สาระของประกาศสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี การจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี การย้ายเด็กไปเรียนที่โรงเรียนประถมศึกษา |
|
6. การทบทวนประจำปี | |
คำนำ การทบทวนประจำปีสำหรับเด็กที่เรียนที่โรงเรียน การประชุมทบทวน การทบทวนประจำปีสำหรับเด็กที่มีประกาศแต่ไม่ได้เรียนที่โรงเรียน การดำเนินการภายหลังการทบทวนประจำปี การย้ายโรงเรียน การแก้ไขประกาศ การหยุดใช้ประกาศ การประเมินตามกฎหมายเพิ่มเติม การทบทวนประจำปี สำหรับเด็กอายุ 14-19 ปี การทบทวนประจำปี ครั้งแรก หลังจากเด็กอายุครบ 14 ปี แผนช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ การมีส่วนร่วมของหน่วยบริการสังคม บทบาทของหน่วยบริการอาชีพ ข้อมูล การถ่ายโอนไปยังภาคการศึกษาต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมของเด็กในการประเมินและการทบทวน นักเรียนที่ไม่มีประกาศแต่มีความต้องการการศึกษาพิเศษ |
|
ภาคผนวก การดำเนินการในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ | |
อภิธานศัพท์ |