รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาแนวทางการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูงเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ
ปีที่พิมพ์ : 2567
ISBN : 978-616-270-455-0
รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาแนวทางการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูงเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ
สารบัญ
คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ 1 บทนำ
1.1 หลักการและเหตุผล
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 คำถามวิจัย
1.4 ขอบเขตการดำเนินงาน
1.5 นิยามศัพท์
1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.7 องค์ประกอบของรายงาน
1.8 ข้อจำกัดของการศึกษา
บทที่ 2 แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาที่สำคัญ และนโยบายที่เกี่ยวข้อง
2.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาที่สำคัญ และนโยบายที่เกี่ยวข้อง
2.2 การเปลี่ยนแปลงของโลกส่งผลต่อแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทยในระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา
2.3 กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National Qualifications Framework (NQF))
2.4 สภาพปัญหาความขาดแคลนกำลังคนในอุตสาหกรรม และทักษะที่ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
2.5 รูปแบบการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูงในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา
2.6 สรุปการศึกษาจากแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาที่สำคัญ และนโยบายที่เกี่ยวข้อง สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตกำลังคนที่มีสมรรถนะสูง
บทที่ 3 กรอบแนวคิดการศึกษาและวิธีการศึกษา
3.1 กรอบแนวคิดการศึกษา
3.2 ระเบียบวิธีวิจัย
บทที่ 4 การจัดการศึกษาของประเทศไทย
4.1 การจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา
4.2 การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
4.3 จำนวนนักศึกษาระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา
4.4 ความต้องการของภาคอุตสาหกรรม
4.5 สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของบริบทตลาดแรงงานต่อทักษะ ที่ไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานของประเทศไทย
4.6 สรุปการจัดการศึกษาทั้งระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรมเป้าหมาย
บทที่ 5 กรณีศึกษาประสบการณ์ต่างประเทศ
5.1 ประเทศเกาหลีใต้
5.2 ประเทศเยอรมนี
5.3 ประเทศออสเตรเลีย
5.4 การเปรียบเทียบประสบการณ์ของประเทศเกาหลีใต้ เยอรมนี ออสเตรเลีย และไทย
บทที่ 6 ผลการศึกษา
6.1 สถานการณ์ ความท้าทาย สภาพปัญหา และอุปสรรคของการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูงของการศึกษาระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา
6.2 รูปแบบและแนวทางการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูงในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
6.3 สถานการณ์ด้านอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply)ของกำลังแรงงานกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายยุทธศาสตร์
6.4 ผลการศึกษาสมรรถนะ ทักษะกำลังคนสมรรถนะสูงที่ต้องการ (Competences/ Skills) ของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายแห่งอนาคต (S-Curve)
6.5 ปัจจัยความสำเร็จการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูง
บทที่ 7 สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ
7.1 สรุปผลการศึกษา
7.2 แนวโน้มการผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูงในอนาคต
7.3 รูปแบบระบบการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสูง
7.4 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
7.5 กลไกและมาตรการเพื่อขับเคลื่อนการผลิตบัณฑิตที่สมรรถนะสูงเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของประเทศ
7.6 ข้อเสนอสำหรับการดำเนินการเร่งด่วน (Quick win)
บรรณานุกรม