การสังเคราะห์งานวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
ปีที่พิมพ์ : 2551
ISBN :
เอกสารฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมวลสาระความรู้ ประสบการณ์ และระบบบริหารสถานศึกษาจากการวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ในบริบทไทย ที่อาจใช้เป็นองค์ความรู้ บทเรียน ต้นแบบสำหรับการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา
บทที่ 1 บทนำ
- ลักษณะโครงการผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ รุ่นที่ 2 (2545)
- ภารกิจผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบรุ่นที่ 2 (ปี 2545 )
- รายชื่อผู้บริหารต้นแบบและงานวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ของผู้บริหารต้นแบบรุ่นที่ 2 ปี 2545
บทที่ 2 สาระจากการวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่ส่งเสริม การปฏิรูปการเรียนรู้ของผู้บริหารต้นแบบ รุ่นที่ 2 พ.ศ. 2545
- การบริหารงานแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ในโรงเรียนเอกชน:
- กรณีโรงเรียนจิระศาสตร์วิทยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดย ผอ.จิระพันธุ์ พิมพ์พันธุ์
- รูปแบบการบริหารโรงเรียนแบบ 6 โรงเรียนเล็ก ใน 1 โรงเรียนใหญ่ กรณี โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดย ผอ.เสรี สุวรรณเพชร
- การใช้เทคนิคการสร้างมาตรฐานเกณฑ์ประเมินเพื่อติดตามผลการบริหารจัดการ องค์รวมในสถานศึกษากรณีโรงเรียนไชยาวิทยา อ.ไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ผอ. ยงยุทธ เชื้อบ่อคา
- การบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษาในการปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
- กรณี โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม อ.ท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี โดย ผอ. จักรกฤษ แย้มสรวล
- การบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนบ้านกุยแหย่ กรณี โรงเรียนบ้านกุยแหย่ จังหวัดกาญจนบุรี โดย ผอ.สมัย สุขศรี
- รูปแบบการจัดแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ โรงเรียนบ้านเนินทอง กรณี โรงเรียนบ้านเนินทอง อำเภอ ท่าแซะ จังหวัดชุมพร โดย ผอ. วินัย คุณวุฒิ
- รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้ยุทธศาสตร์สร้างตนสร้างคน สร้างงาน ของโรงเรียนบ้านป่าสัก อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน กรณี โรงเรียนบ้านป่าสัก อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน โดย ผอ.สมฤทธิ์ สอนนนฐี
- การบริหารสถานศึกษาที่ส่งเสริมการทำหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ชุมชนสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพและมาตรฐานสากล กรณี โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ โดย ภราดา อนุรักษ์ นิธิภัทราภรณ์
- รูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยใช้ยุทธศาสตร์การบริหารเชิงบวก แบบมีส่วนร่วมของ โรงเรียนวัดเทียนถวาย อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี กรณี โรงเรียนวัดเทียนถวาย อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี โดย ผอ. สิงห์โต แก้วกัลยา
- รูปแบบการบริหารการศึกษาโดยใช้พลังร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียน ของโรงเรียนสวนหม่อน กรณีโรงเรียนสวนหม่อน อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โดย ผอ.ประจวบ บอกสันเทียะ
- รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาสำหรับเด็กหูหนวกโรงเรียนโสตศึกษา กรณี โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนครปฐม โดย ผอ. พะโยม ชิณวงศ์
- รูปแบบการบริหารที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการปฏิรูปการเรียนรู้ของโรงเรียนชุมชนบ้านต้นสน กรณีโรงเรียนชุมชนบ้านต้นสน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี โดย ผอ. พงษ์ชัย ทองอ่อน
- รูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่ส่งเสริมการรวมกลุ่มสร้างสรรค์งานเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ กรณี โรงเรียนอนุบาลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง โดย ผอ.เจษฎา จันทร์อักษร
- รูปแบบการบริหารที่ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ของโรงเรียนเสาไห้ “วิมลวิทยานุกูล” กรณี โรงเรียนเสาไห้ “วิมลวิทยานุกูล” อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี โดย ว่าที่ ร.ต. สุวิช พึ่งตน
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาโรงเรียนตามแนวปฏิรูปการศึกษา: กรณีศึกษาโรงเรียนศิลาทองพิทยาสรรค์ จังหวัดยโสธร
- โดย ผอ. ประยงค์ แก่นลา
- รูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบองค์รวม กรณีโรงเรียนบ้านคุ้ม (ประสารราษฎร์วิทยา) อำเภอสอง จังหวัดแพร่ โดย ผอ. ชูชาติ ร่องพืช
- ระบบการบริหารจัดการการบริหารการเปลี่ยนแปลง กรณีศึกษา การบริหารโรงเรียนวานิชวิทยา อ.บัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา โดย ผอ.กรุณา เลิศพุฒิภิญโญ
- การบริหารจัดการ การใช้แหล่งการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้ กรณี โรงเรียนบ้านเขาวง อ.ลานสัก จังหวัดอุทัยธานี โดย ผอ.สมชาย เสมากูล
บทที่ 3 ผลการสังเคราะห์รูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารต้นแบบรุ่นที่ 2
บทนำ
- เหตุผลและความจำเป็นในการดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนา
- การบริหารสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้
- วิธีดำเนินการวิจัยและพัฒนา
- รูปแบบและผังความคิดระบบการบริหารสถานศึกษาที่พัฒนา
- ผลจากการใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้น
- ปัจจัยที่ช่วยให้การบริหารสถานศึกษาเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ประสบความสำเร็จ
บทที่ 4 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก