ปีที่พิมพ์ : 2566

ISBN :

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การศึกษาแนวทางการประยุกต์ปัญญาประดิษฐ์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านของผู้เรียนระดับประถมศึกษา

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ 
    1.1 ความสำคัญและที่มาของปัญหา 
    1.2 คำถามการศึกษา 
    1.3 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 
    1.4 ขอบเขตการวิจัย
    1.5 ประโยชน์ของการศึกษา 
    1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ ความรู้พื้นฐาน 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 
    2.1 แนวคิดในการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในบริบทการศึกษา 
    2.2 ความหมายของการอ่าน 
    2.3 ตัวชี้วัดด้านการอ่าน 
    2.4 ปัญหาด้านการอ่าน 
        2.4.1 ปัญหาด้านการอ่านของนักเรียนไทยในระดับชั้นประถมศึกษาในเชิงปริมาณ 
        2.4.2 ปัญหาด้านการอ่านของนักเรียนไทยในระดับชั้นประถมศึกษาเชิงคุณภาพ 
    2.5 สถานะงานวิจัยเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ในประเทศไทย 
    2.6 การใช้ปัญญาประดิษฐ์ในบริบทการศึกษาในประเทศไทย 
    2.7 ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์
    2.8 ความแตกต่างของภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 
    2.8 ขนาดชุดข้อมูลที่ใช้ในการฝึกสอนในภาษาอังกฤษและภาษาไทย 
บทที่ 3 วิธีการวิจัย 
    3.1 ขั้นตอนการวิจัย
    3.2 การสัมภาษณ์เก็บข้อมูลด้านทักษะการอ่านของนักเรียนไทยในระดับชั้นประถมศึกษา
        3.2.1 การสัมภาษณ์คุณครูผู้สอนวิชาภาษาไทย 
        3.2.2 การสัมภาษณ์ศึกษานิเทศก์
        3.2.3 การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 
        3.2.4 การสัมภาษณ์ผู้ปกครองและนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 
    4.1 ผลการสำรวจความคิดเห็นของครูผู้สอนภาษาไทย ศึกษานิเทศก์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ปกครองและนักเรียนระดับชั้น
    ประถมศึกษา 
    4.2 ผลการการศึกษาประเภทปัญญาประดิษฐ์ที่ช่วยพัฒนาทักษะการอ่าน
        4.2.1 เทคโนโลยี Text-to-Speech 
        4.2.2 เทคโนโลยี Automatic speech recognition 
        4.2.3 เทคโนโลยี Eye Tracker 
        4.2.4 เทคโนโลยี Question Generation 
        4.2.5 เทคโนโลยี Text summarization 
        4.2.6 เทคโนโลยี Automatic Essay Scoring 
        4.2.7 เทคโนโลยี Text Classification 
        4.2.8 เทคโนโลยีการแนะนำหนังสือ 
        4.2.9 เทคโนโลยี Text-to-Image 
        4.2.10 เทคโนโลยี Caption Generation 
        4.2.11 เทคโนโลยี ChatGPT
        4.2.12 ระดับความพรQอมของเทคโนโลยี 
        4.2.13 ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการอ่าน
    4.3 แนวทางการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทย
        4.3.1 การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทยตามตัวชี้วัดทักษะด้านการอ่าน
        4.3.2 กิจกรรมการประยุกต์ปัญญาประดิษฐ์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน 
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 
    5.1 สรุปการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของการประยุกต์เทคโนโลยีตามตัวชี้วัดด้านการอ่าน 
    5.2 ฉากทัศนะการใช้ประยุกต์ปัญญาประดิษฐ์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน 
    5.3 ข้อเสนอแนะ และปัจจัยเงื่อนไขสู่ความสำเร็จ 
    5.4 ข้อเสนอแนะในการวิจัยต่อไป
เอกสารอ้างอิง 
คณะผู้จัดทำ

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด