ปีที่พิมพ์ : 2565

ISBN : 978-616-290-375-1

สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2564 (IMD 2021)

สารบัญ
บทสรุปผู้บริหาร
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนภาพ
บทที่ 1 บทนํา
    1.1 ที่มาและความสําคัญ
    1.2 ขอบเขตการศึกษา
    1.3 การนําเสนอข้อมูล
บทที่ 2 สมรรถนะความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในระดับนานาชาติ ปี 2564
    2.1 ผลการจัดอันดับโดย International Institute for Management Development (IMD)
    2.1.1 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในภาพรวม
    2.1.2 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย จําแนกตามปัจจัยหลัก และปัจจัยย่อย
    2.2 ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทยในระดับนานาชาติ
    2.2.1 ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทยในภาพรวม
    2.2.2 การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของ IMD
    2.2.3 รายละเอียดตัวชี้วัดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของ IMD ปี 2021
บทที่ 3 สมรรถนะด้านการศึกษาของประเทศไทยในระดับนานาชาติ ปี 2564
    3.1 บทวิเคราะห์อันดับตัวชี้วัดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของ IMD จําแนกตามการกําหนดวัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
        1) ลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษา
            (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP)
            (2) งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อประชากร
            (3) งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาต่อนักเรียนรายหัวทุกระดับการศึกษา
            (4) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา
            (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อ ครู 1 คน ที่สอนระดับประถมศึกษา
            (6) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา
        2) ยกระดับคุณภาพคุณภาพการศึกษา
            (1) ผลการทดสอบ PISA
            (2) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอ่านที่ไม่อยู่ในระดับตํ่า
            (3) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปี
            (4) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา
            (5) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
            (6) ดัชนีมหาวิทยาลัย
            (7) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL)
            (8) จํานวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน
            (9) จํานวนนักศึกษาในประเทศที่ไปศึกษาต่อต่างประเทศในระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน
        3) สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
            (1) การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา
            (2) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ
            (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้ประกอบการ
            (4) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
        3.2 บทวิเคราะห์ตัวชี้วัดด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
        3.2.1 ด้านวิทยาศาสตร์
        3.2.2 ด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร
บทที่ 4 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
สรุป
อภิปราย
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
คณะผู้จัดทํา

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด