การศึกษาและพัฒนาระบบและกลไกขับเคลื่อนระบบธนาคารหน่วยกิต: ข้อเสนอสำหรับประเทศไทย
ปีที่พิมพ์ : 2563
ISBN : 978-616-270-274-7
การศึกษาและพัฒนาระบบและกลไกขับเคลื่อนระบบธนาคารหน่วยกิต: ข้อเสนอสำหรับประเทศไทย
สารบัญ | |
คำนำ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร บทที่ 1 บทนำ 1. หลักการและเหตุผล 2. วัตถุประสงค์ 3. ขอบเขตการดำเนินงาน 4. คำจำกัดความ 5. กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน 6. กรอบแนวคิดระบบธนาคารหน่วยกิต 7. วิธีและแนวทางดำเนินการ 8. ประโยชน์หรือผลที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 ผลการวิจัยเอกสารระบบธนาคารหน่วยกิต ตอนที่ 1 ความหมายและเจตนารมณ์ของระบบธนาคารหน่วยกิต ตอนที่ 2 บริบทระดับมหภาคที่เกี่ยวข้องกับระบบธนาคารหน่วยกิต ตอนที่ 3 บทเรียนระบบธนาคารหน่วยกิตจากต่างประเทศ ตอนที่ 4 สถานภาพระบบธนาคารหน่วยกิตของประเทศไทย ตอนที่ 5 สรุปประเด็นสำคัญเชิงนโยบายของระบบธนาคารหน่วยกิต ที่ได้จากการวิจัยเอกสาร บทที่ 3 ผลการศึกษาระบบธนาคารหน่วยกิตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทย 1. วิธีการศึกษาวิจัย 2. สภาพปัจจุบันของระบบธนาคารหน่วยกิตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทย 3. ผลการศึกษาเชิงคุณภาพและกรณีศึกษา ใน 4 ภูมิภาค 4. สรุปผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบธนาคารหน่วยกิต ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในประเทศไทย บทที่ 4 ผลการวิจัยระบบธนาคารหน่วยกิตระดับอุดมศึกษาที่เชื่อมโยงกับภาคการทำงาน 1. วิธีการศึกษาวิจัย 2. สภาพปัจจุบันของระบบธนาคารหน่วยกิตระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย 3. ผลการศึกษาเชิงคุณภาพระบบธนาคารหน่วยกิตระดับอุดมศึกษา และความเชื่อมโยงกับภาคการทำงาน 4. สรุปผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบธนาคารหน่วยกิต ระดับการศึกษาอุดมศึกษาในประเทศไทย บทที่ 5 การพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนระบบธนาคารหน่วยกิต : กรณีศึกษากลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 1. วิธีการศึกษาวิจัย 2. ผลการวิเคราะห์ระบบการศึกษาไทย เพื่อพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์ม 3. ความก้าวหน้าการดำเนินงานดิจิทัลแพลตฟอร์ม : กรณีศึกษากลุ่มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 4. ปัญหาเชิงนโยบายที่ส่งผลกระทบต่อการขับเคลื่อนระบบธนาคารหน่วยกิต บทที่ 6 สรุป ข้อเสนอแนะ และข้อเสนอนโยบายการพัฒนาระบบธนาคารหน่วยกิต และกลไกการขับเคลื่อนระบบธนาคารหน่วยกิต 1. สรุปผลการศึกษาวิเคราะห์ 2. ข้อเสนอนโยบายการพัฒนาระบบธนาคารหน่วยกิต และกลไกการขับเคลื่อน ระบบธนาคารหน่วยกิตสำหรับประเทศไทย บรรณานุกรม ภาคผนวก |