รายงานการศึกษารูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษา
ปีที่พิมพ์ : 2562
ISBN : 978-616-270-232-7
รายงานการศึกษารูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษาฉบับนี้ จึงได้ระบุถึงหลักการ แนวคิด สภาพการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษา กลไกที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งกลไกการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ (Best Practice) เพื่อใช้เป็นบทเรียนในการพัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายการศึกษา/สมัชชาการศึกษาของไทย และเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและสมัชชาการศึกษาในระดับพื้นที่/จังหวัด เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญ ยุทธศาสตร์ชาติและแผนงานระดับชาติที่เกี่ยวข้อง
สารบัญ | |
บทที่ ๑ บทนำ ๑.๑ ความเป็นมา ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๑.๓ เป้าหมาย ๑.๔ กรอบแนวคิดการศึกษา ๑.๕ นิยามศัพท์ ๑.๖ ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา บทที่ ๒ สภาพการดำเนินงาน และกลไกที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ การดำเนินงาน กรณีศึกษาภาคีเครือข่าย/สมัชชาการศึกษาจากต่างประเทศ ๒.๑ กรณีศึกษาประเทศฟินแลนด์ ๒.๒ กรณีศึกษาประเทศแคนาดา ๒.๓ กรณีศึกษาประเทศสิงคโปร์ ๒.๔ กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น บทที่ ๓ สภาพการดำเนินงาน กลไกที่ส่งผลตอประสิทธิภาพ การดำเนินงาน และกลไกที่ประสบผลสำเร็จ (Best practice) กรณีศึกษาภาคีเครือข่าย/สมัชชาการศึกษาในประเทศ ๓.๑ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบ เครือข่ายสมัชชา จังหวัดนครปฐม ๓.๒ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบแบบการมีส่วนร่วม ภาคีเชียงใหม่เพื่อการปฏิรูปการศึกษา ๓.๓ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบแบบการมีส่วนร่วม สมัชชาการศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ๓.๔ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบ เครือข่ายคณะกรรมการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้ จังหวัดชลบุรี ๓.๕ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบ เครือข่ายการมีส่วนร่วม สมัชชาการศึกษาจังหวัดสุรินทร์ บทที่ ๔ รูปแบบการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน ภาคีเครือข่าย/สมัชชาการศึกษา ๔.๑ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบการมีส่วนร่วม เครือข่ายระดับจังหวัด ๔.๒ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบการมีส่วนร่วม เครือข่ายระดับอำเภอ ๔.๓ รูปแบบการจัดการกลไกเชิงระบบการมีส่วนร่วม เครือข่ายระดับตำบล ๔.๔ รูปแบบกลไกการขับเคลื่อนโดยการสร้างกิจกรรม การมีส่วนร่วมในพื้นที่ ๔.๕ รูปแบบกลไกความสำเร็จระดับบุคคล หรือคณะบุคคลเพื่อการขับเคลื่อนเครือข่าย ๔.๖ แนวคิดในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน ภาคีเครือข่ายสมัชชาการศึกษา บทที่ ๕ สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย บรรณานุกรม |