ปีที่พิมพ์ : 2562

ISBN : 978-616-270-210-5

แนวคิดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Education for Sustainable Development (ESD) ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายทั่วโลก แต่ยังมีประเด็นท้าทายในกระบวนการจัดการศึกษา อีกหลายประการ อาทิ การเสริมสร้างความตระหนัก การบูรณาการหลักสูตร การปฏิรูปการศึกษา การนิยามเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน การมีส่วนร่วมของชุมชน การบูรณาการเนื้อหาสาระ บทบาทของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งล้วนมีผลกระทบต่อกระบวนการกำหนดนโยบายการศึกษาของชาติ

สารบัญ
คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ 1 บทนำ

          เหตุผลและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
          ความสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
          การพัฒนาการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยังยืนของโลก
          หลักการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายของ SDG 4
          เป้าหมายการพัฒนาการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
          แนวทางการศึกษาเปรียบเทียบกับนานาประเทศเพื่อพัฒนาระบบการศึกษา
บทที่ 2 สภาพปัจจุบันและปัญหาการศึกษาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย
          สภาพปัจจุบันและปัญหาของระบบการศึกษาไทย
          นโยบายและการนำนโยบายสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
          ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ และเงื่อนไขอันเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสู่ SDG 4
บทที่ 3 สภาพปัจจุบันและปัญหาการศึกษาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศนิวซีแลนด์
          สภาพปัจจุบันและปัญหาของระบบการศึกษาของนิวซีแลนด์
          นโยบายและการนำนโยบายสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
          ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการพัฒนาการศึกษาของนิวซีแลนด์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
บทที่ 4 สภาพปัจจุบันและปัญหาการศึกษาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศญี่ปุ่น
          สภาพปัจจุบันและปัญหาของระบบการศึกษาของญี่ปุ่น
          นโยบายและการนำนโยบายสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
          ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการพัฒนาการศึกษาของญี่ปุ่นสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
บทที่ 5 สภาพปัจจุบันและปัญหาการศึกษาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศมาเลเซีย
          สภาพปัจจุบันและปัญหาของระบบการศึกษาของประเทศมาเลเชีย
          นโยบายและการนำนโยบายสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
          ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการพัฒนาการศึกษาของมาเลเซียสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
บทที่ 6 สภาพปัจจุบันและปัญหาการศึกษาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (ฮ่องกง)
          สภาพปัจจุบันและปัญหาของระบบการศึกษาของฮ่องกง
          นโยบายและการนำนโยบายสู่การปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
          ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการพัฒนาการศึกษาของฮ่องกงสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
บทที่ 7 การวิเคราะห์เปรียบเทียบ และข้อเสนอแนวทางการประยุกต์สำหรับประเทศไทย
          กระบวนการดำเนินงาน
          กรอบการวิเคราะห์สภาพของการบรรลุเป้าหมาย Education 2030
          เปรียบเทียบการพัฒนาการประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สู่ SDG 4.1
          เปรียบเทียบการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย สู่ SDG 4.2
          เปรียบเทียบการพัฒนาอาชีวศึกษา เทคนิคศึกษา และอุดมศึกษา สู่ SDG 4.3
          เปรียบเทียบการพัฒนาทักษะจำเป็นสำหรับเยาวชนและผู้ใหญ่ ในการทำงานที่ดี สู่ SDG 4.4
          เปรียบเทียบการขจัดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา สู่ SDG 4.5
          เปรียบเทียบการยกระดับการอ่านออกเขียนได้คิดเลขเป็น สู่ SDG 4.6
          เปรียบเทียบการประกันความรู้และทักษะจำเป็นสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนสู่ SDG 4.7
          เปรียบเทียบการยกระดับอุปกรณ์และเครื่องมือทางการศึกษาสู่ SDG 4.a
          เปรียบเทียบการขยายจำนวนทุนการศึกษาให้กับประเทศกำลังพัฒนาสู่ SDG 4.b
          เปรียบเทียบนโยบายและแนวทางการเพิ่มจำนวนครูคุณภาพให้กับประเทศ ที่กำลังพัฒนา สู่ SDG 4.c
          ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาการศึกษาไทยสู่ SDG 4
บทที่ 8 บทสรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
          สรุปผลการศึกษา
          ข้อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้สำหรับประเทศไทย
          การอภิปรายผล
          ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาเพิ่มเติม
 

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด