รายงานการศึกษา แนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัลสำหรับครู
ปีที่พิมพ์ : 2562
ISBN : 978-616-270-196-2
รายงานการศึกษา แนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัลสำหรับครู
สารบัญ | |
คำนำ บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 วิธีการดำเนินการ 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.5 กรอบแนวคิดของการศึกษา 1.6 ภาพรวมของรายงาน 2 เอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2.1 เอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสร้างการรู้ดิจิทัลสำหรับครู 2.1.1 กระแสความปั่นป่วนจากเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Disruption) 2.1.2 แนวโน้มการพัฒนาของเทคโนโลยีดิจิทัล 2.1.3 ดิจิทัลเปลี่ยนโลกการศึกษา (Education Disruption) 2.1.4 Digital Natives vs. Digital Immigrants 2.1.5 การเรียนรู้ผสมผสานเทคโนโลยี (Tech Integration Learning) 2.1.6 ทักษะความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence: DQ) 2.2 เอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2.2.1 การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results-Based Management : RBM) 2.2.2 การบริหารงานแบบเครือข่าย (Network Governance) 2.2.3 กระบวนการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพ (PDCA) 3 วิธีการดำเนินการ 3.1 ขั้นตอนการศึกษา 3.2 การเลือกพื้นที่เป้าหมาย 3.3 การเลือกกลุ่มเป้าหมาย 3.4 ข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ศึกษา 4 ผลการดำเนินการ 4.1 การสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู 4.1.1ผลจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัลสำหรับครู 4.2 การขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ประเด็นการจัดการการศึกษาเพื่อรองรับเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล 5 แนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัลสำหรับครู 5.1 บทบาทของ “ครู” ยุคดิจิทัล 5.2 แนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัลสำหรับครู 5.3 ข้อเสนอแนะ 6 บรรณานุกรม 7 ภาคผนวก |

