การพัฒนากลไกลขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับประเทศไทย 4.0
ปีที่พิมพ์ : 2561
ISBN :
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านนโยบายการศึกษา จึงได้มอบหมายให้ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำเนินการศึกษาวิจัยการพัฒนากลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับประเทศไทย 4.0 เพื่อศึกษากรอบแนวคิดระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง กลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์สำหรับประเทศไทย 4.0 สภาพที่พึงประสงค์ของระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง และพัฒนากลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับประเทศไทย 4.0 เพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนมาตรฐานการศึกษาของชาติสู่การปฏิบัติ โดยเฉพาะเรื่องการยกระดับมาตรฐานการผลิตและพัฒนาครูยุคใหม่ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้สามารถคิดสร้างสรรค์ สร้างนวัตรรมใหม่ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต
สารบัญ | |
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ 1.2 คำถามการศึกษาวิจัย 1.3 วัตถุประสงค์การศึกษาวิจัย 1.4 กรอบแนวคิดการศึกษาวิจัย 1.5 ขอบเขตการศึกษาวิจัย 1.6 นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 เอกสารและการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 ประเทศไทย 4.0 2.2 คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์สำหรับประเทศไทย 4.0 2.3 สมรรถนะครูที่พึงประสงค์สำหรับประเทศไทย 4.0 2.4 ระบบการผลิตครู 2.5 ระบบการพัฒนาครูของประเทศไทย 2.6 กลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตครู 2.7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย 3.1 ระเบียบวิธีวิจัย 3.2 ขั้นตอนการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 กรอบแนวคิดระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง กลไกขับเคลื่อนระบบการผลิต และพัฒนาครูสมรรถนะสูง และคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์สำหรับประเทศไทย 4.0 4.2 สภาพที่พึงประสงค์ของระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง กลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับประเทศไทย 4.0 4.3 กลไกขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูงสำหรับประเทศไทย บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการวิจัย 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอเชิงนโยบายการขับเคลื่อนระบบการผลิตและพัฒนาครูสมรรถนะสูง ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย รายการอ้างอิง ภาคผนวก |