การติดตามและการประเมินผลการส่งเสริมค่านิยมของคนไทย
ปีที่พิมพ์ : 2560
ISBN : 978-616-270-135-1
ในปี พ.ศ.2557 รัฐบาลภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา มีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับการส่งเสริมสนับสนุนให้คนไทยมีค่านิยม 12 ประการ โดยมอบหมาย หน่วยงานระดับต่างๆ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนนำไปปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการในฐานะ หน่วยงานทางด้านการศึกษา ได้นำค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการบรรจุไว้ในการจัดการเรียน การสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละช่วงวัย เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ เสริมสร้างประสบการณ์ กระบวนการคิด รวมถึงปลูกจิตสำนึกและค่านิยมหลักของคนไทยให้แก่เด็กและเยาวชน ซึ่งในขณะนี้มีการดำเนินงานดังกล่าวมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานนโยบายด้านการศึกษาระดับประเทศ ได้เล็งเห็นความสำคัญของเรื่องนี้ จึงร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย์สุวิมล ว่องวานิช และคณะ เป็นผู้ดำเนินการศึกษา วิจัยการติดตามและประเมินการส่งเสริมค่านิยมของคนไทยตามแนวนโยบายของรัฐ เพื่อให้ทราบ ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการรับรู้และพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการ กระบวนการน
สารบัญ | |
บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ คำถามวิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ตอนที่ 1 ค่านิยมคนไทย ตอนที่ 2 แนวทางส่งเสริมค่านิยม ตอนที่ 3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับค่านิยม ตอนที่ 4 กรอบความคิดของการวิจัย บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ตอนที่ 1 การศึกษาเชิงปริมาณ 1.1 การพัฒนาเครื่องมือวัดค่านิยม 12 ประการ และดัชนีค่านิยม 12 ประการ 1.2 การวิเคราะห์ระดับการรับรู้ค่านิยมและพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการ 1.3 การวิเคราะห์กระบวนการนำนโยบายสู่การปฏิบัติและวิธีการส่งเสริมค่านิยมของสถานศึกษา ตอนที่ 2 การศึกษาเชิงคุณภาพ 2.1 การวิเคราะห์กระบวนการนำนโยบายสู่การปฏิบัติและวิธีการส่งเสริมค่านิยมของสถานศึกษา 2.2 การวิจัยกรณีศึกษาเพื่ออธิบายปัจจัยเชิงสาเหตุของผลการดำเนินงาน 2.3 การจัดทำแนวทางการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการ บทที่ 4 เครื่องมือวัดและดัชนีค่านิยม 12 ประการ ตอนที่ 1 การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดค่านิยม 12 ประการ ฉบับยาว 1.1 นิยามเชิงปฏิบัติการ 1.2 ลักษณะของเครื่องมือวัดค่านิยม 12 ประการ 1.3 การศึกษานำร่องจากเครื่องมือวัดค่านิยมฉบับยาว ตอนที่ 2 การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดค่านิยมฉบับสั้น 2.1 ข้อมูลพื้นฐาน 2.2 การสร้างสมการประมาณค่าพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการสำหรับเครื่องมือฉบับสั้น 2.3 การวิเคราะห์สมการประมาณค่าพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการสำหรับเครื่องมือฉบับสั้น ตอนที่ 3 ดัชนีค่านิยม 12 ประการ และเกณฑ์การประเมินค่านิยม 12 ประการ 3.1 ดัชนีค่านิยม 12 ประการ 3.2 เกณฑ์การประเมินผลคะแนนค่านิยม 12 ประการ บทที่ 5 ระดับค่านิยม 12 ประการ ของผู้เรียน ตอนที่ 1 การรับรู้ และยึดมั่นในค่านิยม 12 ประการของผู้เรียน 1.1 การรับรู้เกี่ยวกับค่านิยม 12 ประการของผู้เรียน 1.2 การยึดมั่นในค่านิยม 12 ประการของผู้เรียน 1.3 การยึดมั่นในค่านิยม 12 ประการของชุมชนตามการรับรู้ของผู้เรียน ตอนที่ 2 ระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการของผู้เรียน 2.1 ระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการของผู้เรียน 2.2 ระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการของผู้เรียนตามการรับรู้ ของครูอาจารย์ 2.3 ระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการของผู้เรียนตามการรับรู้ ของผู้ปกครอง 2.4 การเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการตามภูมิหลัง ของผู้เรียน 2.5 การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการ ของผู้เรียน 2.6 ระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการของผู้เรียนในระดับสถานศึกษา ตอนที่ 3 การประเมินระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการของผู้เรียน 3.1 ผลการประเมินโดยใช้เกณฑ์แบบอิงเกณฑ์สัมบูรณ์ 3.2 ผลการประเมินโดยใช้เกณฑ์แบบอิงเกณฑ์สัมพันธ์ ตอนที่ 4 การวิเคราะห์ระดับพฤติกรรมตามค่านิยม 12 ประการตามหมวดหมู่ ที่จัดขึ้นใหม่ บทที่ 6 การขับเคลื่อนนโยบายค่านิยม 12 ประการ ตอนที่ 1 กระบวนการนำนโยบายค่านิยม 12 ประการ สู่การปฏิบัติ 1.1 การส่งมอบและการรับนโยบายค่านิยม 12 ประการ 1.2 การกำกับติดตามนโยบายค่านิยม 12 ประการ 1.3 ผลการขับเคลื่อนนโยบายค่านิยม 12 ประการ ตอนที่ 2 วิธีการส่งเสริมค่านิยมของสถานศึกษาตามนโยบายค่านิยม 12 ประการ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ตอนที่ 3 ปัจจัยความสำเร็จ และปัญหาอุปสรรคของการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการ 3.1 ปัจจัยความสำเร็จของการดำเนินงานด้านการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการ 3.2 ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานด้านการส่งเสริมค่านิยม 12 ประการ ตอนที่ 4 ข้อเสนอเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมค่านิยมของคนไทย ให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล 4.1 ข้อเสนอเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมค่านิยมของเขตพื้นที่การศึกษา 4.2 ข้อเสนอเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมค่านิยมของสถานศึกษา 4.3 ข้อเสนอเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมค่านิยมจากการตรวจเยี่ยมพื้นที่ 4.4 แนวทางการดำเนินงานการส่งเสริมค่านิยมของคนไทย 12 ประการ บทที่ 7 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลการวิจัย ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป รายการอ้างอิง |