รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ปีที่พิมพ์ : 2560
ISBN : 978-616-270-133-7
เอกสารฉบับนี้ เน้นจัดการเรียนรู้ ที่มีการปฏิบัติจริงหรือการศึกษาระบบทวิภาคี โดยเปิดโอกาสและสนับสนุนให้สถานประกอบการเข้ามีมีบทบาทในการจัดการศึกษามากขึ้น ตั้งแต่การวางแผนผลิต และการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ภาคปฏิบัติ ส่งผลให้ผู้เรียนมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีทักษะฝีมือที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ และทำงานได้จริงในทันทีที่สำเร็จการศึกษา
สารบัญ | |
คำนำ | |
บทสรุปผู้บริหาร | |
สารบัญ | |
สารบัญรูป | |
สารบัญตาราง | |
1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ขอบเขตของการดำเนินงาน |
|
2 บริบทเชิงนโยบายและข้อมูลเบื้องต้น 2.1 นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนสำคัญที่เกี่ยวข้อง 2.2 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 2.3 พัฒนาการของการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 2.4 คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (กรอ.อศ.) 2.5 โครงสร้างหลักสูตรทวิภาคีในปัจจุบัน |
|
3 กรอบแนวคิดและขั้นตอนการดำเนินงาน 3.1 กรอบแนวคิดในการดำเนินการศึกษา 3.2 กรอบการติดตามและประเมินผล |
|
4 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในต่างประเทศ 4.1 สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันนี 4.2 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 4.3 ประเทศมาเลเซีย |
|
5 สถิติจำนวนนักเรียนนักศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี | |
6 ผลการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 6.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสำเร็จของการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 6.2 สรุปภาพรวมผลการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี |
|
7 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย | |
บรรณานุกรม | |
ภาคผนวก | |
คณะผู้จัดทำ | |