การพัฒนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ สู่กรอบประชาคมอาเซียน
ปีที่พิมพ์ : 2558
ISBN :
เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาหลักการของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนและกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและพัฒนากำลังคน สามารถนำไปใช้ประกอบการกำหนดนโยบายและทิศทางการผลิตและพัฒนากำลังคนของตนเองได้ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเทียบโอนแรงงานระหว่างภูมิภาคเป็นการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาบุคลากรอย่างยั่งยืน
สารบัญ | |
บทที่ 1 บทนำ - ความเป็นมา - วัตถุประสงค์ - วิธีการศึกษา - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - ความหมายและนิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง |
|
บทที่ 2 กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ - ความเป็นมาของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ - วัตถุประสงค์ของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ - ความสำคัญของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ - หลักการของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ - โครงสร้างของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ - ความก้าวหน้าในการดำเนินงานยกระดับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่ประชาคมอาเซียน |
|
บทที่ 3 กรอบคุณวุฒิอ้างอิง - ความเป็นมาของกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน - ความหมายของกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน - สาระสำคัญของกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน |
|
บทที่ 4 ระบบการศึกษาและกรอบคุณวุฒิแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน - ประเทศบรูไนดารุสซาลาม - ประเทศกัมพูชา - ประเทศอินโดนีเซีย - สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว - ประเทศมาเลเซีย - ประเทศฟิลิปปินส์ - สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ - ประเทศสิงคโปร์ - ประเทศเวียดนาม - การวิเคราะห์กรอบคุณวุฒิแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน |
|
บทที่ 5 การเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกับกรอบคุณวุมิอ้างอิงอาเซียน - ความหมายและนิยามศัพท์ของการเทียบเคียงกับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน - การเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน - ข้อเสนอแนะการพัฒนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติของประเทศไทยเทียบเคียงกับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน |
|
บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย - แนวทางการพัฒนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน - แนวทางในการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน - ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย |
|
บรรณานุกรม | |
ภาคผนวก | |