ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

รายงานฉบับนี้ได้สังเคราะห์ข้อค้นพบเชิงนโยบายที่สำคัญ โดย เจอรัลด์ ดับเบิลยู ฟราย วิทยาลัยศึกษาศาสตร์และการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยมินนิโซตา เนื้อหานำเสนอการ สังเคราะห์รายงานของผู้เชี่ยวชาญตามโครงการความช่วยเหลือทางวิชาการ ผลการ ดำเนินงานด้านการศึกษาในภาพรวมและในระดับสถานศึกษา การกำหนดและวิเคราะห์ ประเด็นสำคัญ ๆ สิ่งท้าทายและอุปสรรคที่ยังคงมีอยู่ในการปฏิรูปการศึกษา ข้อสรุปและ ข้อเสนอแนะที่สำคัญ ๆ : กรอบยุทธศาสตร์เพื่อส่งผลให้การปฏิรูปการศึกษาประสบ ผลสำเร็จ

คำนำ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

รายงานฉบับสังเคราะห์ จากวิกฤติสู่โอกาส สิ่งที่ยังท้าทายการปฏิรูปการศึกษาของไทย

วัตถุประสงค์ในการจัดทำรายงานฉบับนี้

วิธีดำเนินงาน

การสังเคราะห์รายงานของผู้เชี่ยวชาญตามโครงการความช่วยเหลือทางวิชาการ

บริบททางประวัติศาสตร์/การเมือง : จากวิกฤติสู่โอกาส วิวัฒนาการ
    การปฏิรูปการศึกษาในประเทศไทย
เหตุผลและความจำเป็นในการปฏิรูปการศึกษา
การประเมินระบบการศึกษาไทย : จุดแข็งและจุดอ่อนที่สำคัญ ๆ
ประเด็นสำคัญในการพัฒนาครูซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการปฏิรูปการศึกษา
   เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
แผนพัฒนาครูเพื่อส่งเสริมการปฏิรูปการศึกษาของไทย
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    ซึ่งอำนวยประโยชน์ต่อการปฏิรูปการศึกษาและการปฏิรูปการเรียนรู้
โครงการนำร่องระดับชาติ
บทเรียนที่ได้รับจากโครงการนำร่องระดับชาติ

ผลการดำเนินงานด้านการศึกษาในภาพรวมและในระดับสถานศึกษา

การกำหนดและวิเคราะห์ประเด็นสำคัญ ๆ สิ่งท้าทายและอุปสรรคที่ยังคงมีอยู่ในการปฏิรูปการศึกษา

ข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่สำคัญ ๆ : กรอบยุทธศาสตร์เพื่อส่งผลให้

การปฏิรูปการศึกษาประสบผลสำเร็จ

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

ภาคผนวก I : รายชื่อบางเว็บไซต์ที่เป็นประโยชน์
ภาคผนวก II : ข้อเสนอสำหรับโครงการใหม่

รายการตารางและแผนภาพ

ตารางที่ 1 : ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจที่สำคัญ ๆ : ภูมิทัศน์ใหม่ทางด้านเศรษฐกิจ ของไทย (new economic landscape)
ตารางที่ 2 : อันดับของไทยในการจัดอันดับนานาชาติ จำแนกตามตัวชี้วัด
ตารางที่ 3 : ตัวชี้วัดพื้นฐานเชิงสถิติที่สำคัญของระบบการศึกษาไทย
ตารางที่ 4 : ตัวชี้วัดเชิงสถิติที่สำคัญ ๆ เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาในประเทศไทย
ตารางที่ 5 : โรงเรียนในโครงการนำร่อง จำแนกตามภูมิภาคและสังกัด
ตารางที่ 6 : หัวข้อ/ความคิดรวบยอดที่ปรากฏอยู่เสมอในรายงานการประเมินผล/การวิจัยตามโครงการนำร่องระดับชาติ
ตารางที่ 7 : การวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่สำคัญ ๆ เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ (นักเรียน)
ตารางที่ 8 : คะแนนที่ได้รับเพิ่มขึ้นสำหรับนักเรียน จำแนกตามประเภท
ตารางที่ 9 : ผลการดำเนินงานด้านการศึกษาในภาพรวมและในระดับสถานศึกษา
ตารางที่ 10 : ความก้าวหน้าในการปฏิรูปการศึกษาไทย 2539 - ปัจจุบัน
แผนภาพที่ 1 : รูปทรงเพชรแสดงพัฒนาการของไทย
แผนภาพที่ 2 : การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในลักษณะต่าง ๆ
แผนภาพที่ 3 : รูปแบบความเป็นผู้นำที่ได้มาจากโครงการนำร่องระดับชาติ
แผนภาพที่ 4 : มิติสำคัญ ๆ ที่เชื่อมโยงกันของการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งประสบผลสำเร็จ
แผนภาพที่ 5 : แนวการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
แผนภาพที่ 6 : การปฏิรูปแบบบูรณาการในเจ็ดประการด้วยกัน
แผนภาพที่ 7 : ทฤษฎีการเรียนรู้เกี่ยวกับบุคคลในองค์รวม : ซอฟต์แวร์ของจิต
แผนภาพที่ 8 : อิทธิพลทางวัฒนธรรมที่สำคัญ ๆ
แผนภาพที่ 9 : การเพิ่มพูนประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาโดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง
แผนภาพที่ 10 : รูปแบบ KAP (Knowledge, Attitudes, Praxis)

เอกสารอ้างอิง
 

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด