ปีที่พิมพ์ : 2554

ISBN :

การศึกษาวิจัยและพัฒนาต้นทุนมาตรฐานต่อหน่วยระดับอุดมศึกษา เป็นการศึกษาข้อมูลเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งของไทยและต่างประเทศ ในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิของสถาบัน-อุดมศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชน โดยใช้คณะเป็นหน่วยวิเคราะห์ จำนวน 5 คณะ โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ 2) กลุ่มสาขาสังคมศาตร์ การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยระดับอุดมศึกษาในครั้งนี้ได้ศึกษาอ้างอิงกับประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของหน่วยวิเคราะห์ (ระดับคณะ) และวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของหน่วยวิเคราะห์นี้ ด้วยแบบจำลอง DEA (Data Envelopment Analysis)

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
บทนำ
  1. หลักการและเหตุผล
  2. วัตถุประสงค์
  3. ขอบข่ายการศึกษาและวิธีการศึกษา
  4. แบบสำรวจข้อมูลและแผนการเก็บข้อมูล
  5. ข้อจำกัดของการศึกษา
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  1. แนวคิดหรือทฤษฎีที่ใช้เป็นกรอบในการศึกษา
  2. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลการศึกษา
  1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของหน่วยวิเคราะห์
  2. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรด้วยแบบจำลอง DEA
  3. ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรของหน่วยวิเคราะห์
  4. ผลการวิเคราะห์การจัดกลุ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร จำแนกตามคณะและประเภทสถาบัน
  5. ผลการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายดำเนินการเฉลี่ยต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลาจำแนกประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
  6. ผลการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเฉลี่ยต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลาจำแนกตามประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
  7. ผลการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางตรงต่อหัวนักศึกษาเต็มเวลาจำแนกตามประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
  8. ผลการวิเคราะห์จำนวนบทความตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำจำแนกตามประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
  9. ผลการวิเคราะห์จำนวนบทความตีพิมพ์ในวารสารในประเทศต่อจำนวนอาจารย์ประจำจำแนกตามประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
  10. ผลการวิเคราะห์จำนวนบัณฑิตที่มีงานทำต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจำแนกตาม ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
  11. ผลการวิเคราะห์จำนวนอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกจำแนกตามประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
สรุปและข้อเสนอแนะ
  1. บทสรุป
  2. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค

 

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด