ปีที่พิมพ์ : 2553
ISBN : 978-616-7324-58-6
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบนวัตกรรมของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวแนวใหม่ ที่มุ่งเน้นประสบการณ์ตรงที่มีเอกลักษณ์พิเศษและการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักท่องเที่ยวและสถานที่ท่องเที่ยวนั้นๆผ่านการศึกษา ตัวอย่างที่มีชื่อเสียง 3 กรณีศึกษาคือ ฟาร์มโชคชัย นาฏยศาลา หุ่นละคร เล็ก (โจหลุยส์เธียเตอร์) และสวนลุมไนท์บาซาร์ และตลาดน้ำอัมพวา โดยใช้แนวคิดระบบนวัตกรรมรายสาขา (sectoral innovation system) ที่เน้นบทบาทและความสามารถของผู้มีบทบาทสำคัญในระบบนวัตกรรม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้มีบทบาทเหล่านั้น และบริบทเชิงสถาบันที่เกี่ยวข้อง
สารบัญ |
คำนำ |
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร |
บทที่ 1 บทนำ |
- หลักการและเหตุผล
- วัตถุประสงค์ของการศึกษา
- ขอบเขตการศึกษา
- ระเบียบวิธีวิจัย
- ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา
|
บทที่ 2 เศรษฐกิจฐานความรู้สู่เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ |
- เศรษฐกิจฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
- นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์
- นโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในประเทศไทย
|
บทที่ 3 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ |
- แนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- ลักษณะของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในระดับประเทศ
- เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ โดย UNESCO
- แนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย
- อนุกรมวิธานของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
|
บทที่ 4 กรณีศึกษา |
- ฟาร์มโชคชัย
- ความเป็นมา
- พื้นฐานความรู้และเทคโนโลยี
- อุปสงค์ของนักท่องเที่ยว
- ผู้มีบทบาทในระบบนวัตกรรม
- ความเชื่อมโยงระหว่างผู้มีบทบาทต่างๆ
- บริบทเชิงสถาบัน
- นวัตกรรมที่เกิดขึ้น
- นาฏยศาลา หุ่นละครเล็ก (โจหลุยส์เธียเตอร์) และสวนลุมไนท์บาซาร์
- ความเป็นมา
- พื้นฐานความรู้และเทคโนโลยี
- อุปสงค์ของนักท่องเที่ยว
- ผู้มีบทบาทในระบบนวัตกรรม
- ความเชื่อมโยงระหว่างผู้มีบทบาทต่างๆ
- บริบทเชิงสถาบัน
- นวัตกรรมที่เกิดขึ้น
- ตลาดน้ำอัมพวา
- ความเป็นมา
- พื้นฐานความรู้และเทคโนโลยี
- อุปสงค์ของนักท่องเที่ยว
- ผู้มีบทบาทในระบบนวัตกรรม
- ความเชื่อมโยงระหว่างผู้มีบทบาทต่างๆ
- บริบทเชิงสถาบัน
- นวัตกรรมที่เกิดขึ้น
|
บทที่ 5 สรุปบทเรียนความสำเร็จและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย |
- บทเรียนความสำเร็จจากกรณีศึกษา
- การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทยอย่างยั่งยืน
- ลักษณะเด่นของนวัตกรรมในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- บทบาทการศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- กระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาคนในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- นัยสำคัญทางการศึกษาเพื่อสร้างความยั่งยืนในการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
- ข้อเสนอแนะเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
- ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยในอนาคต
|
บรรณานุกรม |
ภาคผนวก |
- รายชื่อผู้ที่ได้รับสัมภาษณ์
- ประมวลคำศัพท์
- แนวทางการสัมภาษณ์กรณีศึกษา
|
คณะผู้ดำเนินงาน |
|
Download