รายงานการวิจัยประเมินผล คุณธรรม 8 ประการของผู้เรียน : เจตคติและพฤติกรรม
ปีที่พิมพ์ : 2551
ISBN :
รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาตัวชี้วัดและประเมินสถานภาพด้านคุณธรรมของผู้เรียนว่าอยู่ในระดับใด และเพื่อประเมินว่านโยบายคุณธรรมนำความรู้ของกระทรวงศึกษาธิการที่ผ่านมามีผลสัมฤทธิ์ในเชิงเจตคติและพฤติกรรมของผู้เรียนอย่างไร
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
- การทบทวนวรรณกรรม
- วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
- ขอบเขตการวิจัย
- ข้อจำกัดของการวิจัย
- คำจำกัดความที่ใช้ในงานวิจัย
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 วิธีดำเนินงานวิจัย
- กลุ่มตัวอย่าง
- การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
- เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดที่ใช้งานวิจัย
- สรุปผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด
- วิธีดำเนินการวิจัย
บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล
- การศึกษาที่ 1
- ตัวแปรในการศึกษาที่ 1
- แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
- การเตรียมข้อมูลในการวิเคราะห์
- ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาที่ 1
- การวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน
- การวิเคราะห์ร้อยละความแปรปรวนที่สามารถอธิบายได้
- การวิเคราะห์ผลตัวแปรควบคุม
- ผลการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์โครงการคุณธรรม
- การศึกษาที่ 2
- ตัวแปรในการศึกษาที่ 2
- แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
- การเตรียมข้อมูลในการวิเคราะห์
- ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาที่ 2
- การวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน
- การวิเคราะห์โครงการคุณธรรมที่จัดในแต่ละระดับชั้น
- การวิเคราะห์คะแนนพฤติกรรมคุณธรรมที่เปลี่ยนแปลง
- การวิเคราะห์อิทธิพลโครงการคุณธรรม
บทที่ 4 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
- แบบวัดคุณธรรมที่พัฒนาขึ้นในงานวิจัยนี้สามารถใช้ได้จริงหรือไม่
- สถานศึกษาต่าง ๆ จัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมอะไรบ้าง
- สถานศึกษามีส่วนในการอธิบายพฤติกรรมคุณธรรมของผู้เรียนมากน้อยเพียงใด
- ตัวแปรควบคุมต่าง ๆ มีผลต่อคะแนนคุณธรรมหรือไม่ อย่างไร
- ในระดับการศึกษาต่าง ๆ คะแนนพฤติกรรมคุณธรรมระหว่างการเก็บข้อมูลครั้งที่ 1และครั้งที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
- โครงการคุณธรรมที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นระหว่างการศึกษาครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 มีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคุณธรรมของผู้เรียนหรือไม่
- โครงการคุณธรรมตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สัมฤทธิผลหรือไม่
- ข้อเสนอแนะในการส่งเสริมคุณธรรมในสถานศึกษา
- ข้อเสนอแนะในการประเมินครั้งต่อไป
บรรณานุกรม
ภาคผนวก