สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2565 (IMD2022)
ปีที่พิมพ์ : 2566
ISBN : 978-616-270-422-2
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล ปี 2565 (IMD2022)
สารบัญ
คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนภาพ
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
1.2 ขอบเขตการศึกษา
1.3 การนำเสนอข้อมูล
บทที่ 2 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
ในระดับนานาชาติ ปี 2565
2.1 ผลการจัดอันดับโดย International Institute for
Management Development (IMD)
2.1.1 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
ในภาพรวม
2.1.2 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
จำแนกตามปัจจัยหลัก และปัจจัยย่อย
2.2 ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการศึกษาของประเทศไทย ในระดับนานาชาติ
2.2.1 ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษา
ของประเทศไทยในภาพรวม
2.2.2 การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการศึกษาของ IMD
2.3 ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัล
โดย IMD World Digital Competitiveness
Ranking 2022
2.3.1 ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน
ด้านดิจิทัลของประเทศไทยในภาพรวม
2.3.2 ความสามารถในการแข่งขันด้านดิจิทัล
ของประเทศไทย จำแนกตามปัจจัยหลัก
2.4 ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน
ด้านบุคลากรผู้มีความสามารถ โดย IMD World
Talent Ranking 2022
2.4.1 ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน
ด้านบุคลากรผู้มีความสามารถของไทย
ในภาพรวม ปี 2565
2.4.2 ความสามารถในการแข่งขันด้านบุคลากร
ผู้มีความสามารถของประเทศไทย
จำแนกตามปัจจัย
บทที่ 3 สมรรถนะด้านการศึกษาของประเทศไทย
ในระดับนานาชาติ ปี 2565
3.1 บทวิเคราะห์อันดับตัวชี้วัดความสามารถในการแข่งขัน
ด้านการศึกษาของ IMD จำแนกตามการกำหนด
วัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
1) ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
1.1) กลุ่ม 1 งบประมาณด้านการศึกษา
(1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวล
รวมของประเทศ (GDP)
(2) งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา
ต่อประชากร
(3) งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา
ต่อนักเรียนรายหัวทุกระดับการศึกษา
1.2) กลุ่ม 2 อัตราการเข้าเรียน
(1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา
1.3) กลุ่ม 3 อัตราส่วนนักเรียนต่อครู
(1) อัตราส่วนนักเรียนต่อ ครู 1 คน ที่สอน
ระดับประถมศึกษา
(2) อัตราส่วนนักเรียนต่อ ครู 1 คน ที่สอน
ระดับมัธยมศึกษา
2) ยกระดับคุณภาพการศึกษา
2.1) กลุ่ม 1 ตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาระดับ
ขั้นพื้นฐาน
(1) ผลการทดสอบ PISA
(2) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และการอ่านที่ไม่อยู่ในระดับต่ำ
(3) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปี
2.2) กลุ่ม 2 ตัวชี้วัดคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
(1) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา
ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
(3) ดัชนีมหาวิทยาลัย
(4) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL)
(5) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษา
ในประเทศต่อประชากร 1,000 คน
(6) จำนวนนักศึกษาไทยที่ไปศึกษาต่อต่างประเทศ
ในระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน
3) สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
(1) การตอบสนองความสามารถในการแข่งขันทาง
เศรษฐกิจของการอุดมศึกษา
(2) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการ
ของภาคธุรกิจ
(3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของ
ผู้ประกอบการ
(4) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา
ที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทาง
เศรษฐกิจ
บทที่ 4 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
สรุป
อภิปราย
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
คณะผู้จัดทำ